ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ. ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายของปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนองนโยบายของรัฐบาล เพื่อประโยชน์ของประชาชน ให้ความสำคัญกับโครงการพระราชดำริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติทุกโครงการ ส่งเสริมสนับสนุนบรรยากาศการทำงานที่มีความสุข ไว้วางใจ และความสามัคคีสมานฉันท์ สร้างขวัญกำลังใจ ครอบคลุมทุกระดับ และทุกสาขาวิชาชีพ บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นผลการทำงานเป็นหลัก ทั้งความก้าวหน้า ความดีความชอบ เพื่อให้สธ.มีศักดิ์ศรี เกียรติภูมิในด้านการทำงานที่เป็นประโยชน์กับประชาชน
นโยบายของปลัดกระทรวงสาธารณสุข บริหารการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาระบบงานให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา เชื่อมโยงทำงานกับนานาชาติและสร้างคุณค่าของสาธารณสุขไทยในเวทีโลก เพื่อร่วมกันพัฒนาสุขภาพของทุกคน ผนึกกำลังกันการทำงานระหว่างกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ กสธ. (9 กรม, อภ., สปสช., สช., สวรส., สพฉ., สรพ., ฯลฯ) โดยเชื่อม 6 หน่วยงานองค์กรมหาชน เข้าเป็นองคาพยพเดียวกันกับ กสธ.
การขับเคลื่อนนโยบายสุขภาพประชาชนต้องมาก่อน 4
ระบบบริการสุขภาพของไทย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง
ทุกฝ่ายร่วมใจเพื่อสุขภาพคนไทย กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมแพทย์แผนไทยฯ กรมวิทย์ฯ กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการฯ อย. สำนักงานปลัดฯ บริการตติยภูมิ บริการทุติยภูมิ บริการปฐมภูมิ สาธารณสุขมูลฐาน SELF CARE ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง สปสช. สช. สวรส. สสส.
แนวทางสุขภาพคนไทย สำนักงานปลัดฯ ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง บริการตติยภูมิ รพท. / รพศ. บริการทุติยภูมิ รพช. บริการปฐมภูมิ รพ.สต. สาธารณสุขมูลฐาน SELF CARE ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ (ตา,ไต) ดูแล กลุ่มป่วยซับซ้อน ดูแล กลุ่มป่วย ตรวจสุขภาพ คัดกรอง กลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ ลดปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพ
โครงการตรวจสุขภาพประชาชน (คัดกรองโรค) รพ.สต. ต้องมีกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม ประชาชนจับต้องได้โดยเฉพาะการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค โครงการตรวจสุขภาพประชาชน (คัดกรองโรค) ผลการตรวจสามารถแยกประชาชน เป็น 3 กลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย
กลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง รพ. สต กลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง รพ.สต. ต้องดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ ลดความเสี่ยงที่จะพัฒนาเป็นเป็น กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย จะต้องส่งไปยัง รพช. ได้รับการรักษาที่เหมาะสม กลุ่มป่วย มีโรคที่มีความสลับซับซ้อนจะได้รับการดูแลโดย รพท./รพศ. Excellent center ที่มีความพร้อมจะให้บริการขั้นสูงเช่น organ transplantation อาจเริ่มที่ ตา และไต ก่อน
พันธมิตร ส. ทั้งหลายก็จะเข้ามาช่วยสนับสนุน สปสช. เรื่องงบประมาณการดำเนินงาน สสส. เรื่องกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ , การให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ สช. เรื่องการทำเวทีสาธารณะ สวรส. เรื่องงานวิจัยระบบสุขภาพ งบประมาณดำเนินการมาจากหลายแหล่ง เช่น SP2 , P&P , ท้องถิ่น , ชุมชน ฯลฯ