งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ทีมงานสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพวัยทำงาน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง

2 ความเป็นมา จังหวัดระยองมีคนทำงานมากกว่า 4 แสนคน เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากงานและไม่จากงาน สูญเสียอวัยวะ สูญเสียสมรรถภาพ การมีงานทำเป็นพื้นฐานของความป็นอยู่ที่ดี ภายหลังการเจ็บป่วยสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและต่อผู้อื่น การเจ็บป่วยที่ใช้เวลาในการรักษาเป็น อาจสูญเสียงาน การดูแลโดยสหวิชาชีพ

3 แนวทางการดูแลผู้ป่วยกลับเข้าทำงาน

4 แบบคัดกรองส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

5 แบบบันทึกการดูแลฯ ประเมินความสามารถในการกลับเข้าทำงาน(Return to work) ใช้หลักการ ICF 1.การประเมินความผิดปกติทางโครงสร้างของอวัยวะระบบต่างๆ (Impairments of Body structures) 2.การประเมินความผิดปกติด้านการทำงานของอวัยวะระบบต่างๆ (Body functions) 3.การประเมินข้อจำกัดในการทำกิจกรรมและการมีส่วนร่วม( Activity Limitations and Participation Restriction) 4. การประเมินด้านปัจจัยแวดล้อม (Environmental factors) ที่คาดว่าจะมีผลต่อการกลับเข้าทำงาน

6 รายงานประเมินก่อนกลับเข้าทำงาน

7 บันทึกทางการพยาบาล ประเมินความรู้และการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการเจ็บป่วยกับการทำงาน ประเมินการรับรู้ความเสี่ยงและป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเมื่อกลับเข้าทำงาน ประเมินการรับรู้สมรรถภาพตนเอง ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวัน

8 ผลการดำเนินงาน ปี 2559 38 ประเภทการเจ็บป่วย ในรพ. สปก. มาเอง รวม
หลอดเลือดสมอง 4 1 - 5 กระดูกหัก 18 20 สูญเสียอวัยวะ แผลไฟไหม้ 3 บาดเจ็บไขสันหลัง ผ่าตัดช่องท้อง เบาหวาน ลมชัก ไตวาย 35 2 38

9 ระหว่างการติดตามดูแล
ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ประเภทการเจ็บป่วย กลับเข้าทำงานเดิม เปลี่ยนงานใหม่ ระหว่างการติดตามดูแล RTL รวม หลอดเลือดสมอง 2 1 - 5 กระดูกและข้อ 3 12 20 สูญเสียอวัยวะ แผลไฟไหม้ บาดเจ็บไขสันหลัง ผ่าตัดช่องท้อง เบาหวาน ลมชัก ไตวาย 10 7 18 38

10 ปัจจัยสนับสนุน วิสัยทัศน์สนับสนุนการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การสื่อสารการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์จากระดับผู้บริหารถึงระดับผู้ปฏิบัติ จัดบริการอาชีวอนามัยใน Care process ความร่วมมือโดยสมัครใจ PCT ร่วมคัดกรองผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อน การวางแผนการดูแลชัดเจน

11

12

13 แผนการพัฒนา ประเมินความต้องการการดูแลเพื่อการกลับเข้าทำงานเฉพาะรายที่ยุ่งยากซับซ้อนเฉพาะโรค เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคทั่วไป มีการประเมิน RTW ครอบคลุมทุกสาขา ขยายการดำเนินการในสถานประกอบการ พัฒนาทีมสหวิชาชีพให้ช่วยคัดกรองความต้องการการดูแลเพื่อการกลับเข้าทำงานได้แม่นยำมากขึ้น


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google