แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ” ผศ.ภญ.ดร.วรรณา ศรีวิริยานุภาพ แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไก คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) ในปี 2548 สสส ได้สนับสนุนให้เกิด โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คคส ดำเนินการ ภายใต้ วจภส โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้บริโภคในส่วนกลางและท้องถิ่น สร้างกลไกโครงสร้างของสังคมเพื่อให้ภาคประชาสังคมมีบทบาทกำหนดทิศทางการคุ้มครองผู้บริโภคโดยเฉพาะกลไกองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ มาตรา 57 สร้างภาวะแวดล้อมเกื้อหนุนระบบคุ้มครองผู้บริโภคให้เข้มแข็ง โดยสนับสนุนการจัดการความรู้ การพัฒนากระบวนทัศน์การคุ้มครองผู้บริโภค การสื่อสารเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคกับสังคมโดยรวม การพัฒนากฎหมาย
ยุทธศาสตร์สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา 1. การสร้างความรู้หรือการทำงานทางวิชาการ 2. การเคลื่อนไหวของสังคม 3. การเชื่อมโยงกับการเมือง
แผนงานย่อยน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ
แผนงานย่อยน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ วิชาการ กรมวิทย์ อย. มหาวิทยาลัย สนับสนุนวิชาการ คคส. อภ. สนับสนุนปฏิบัติการ สภาหอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรม คคส. ฯลฯ ปฏิบัติการ ผู้บริโภค/องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สสจ./พลังงาน/รร.
จังหวัด โรงเรียน เทศบาล/อบต. สภาหอการค้า ผู้ประกอบการ วิชาการ Polar+PAH ชุดทดสอบ ไบโอดีเซล บ่อดักไขมัน ศึกษาปัญหา ฯ เภสัชฯ มข. ศูนย์วิทย์อุบล ชุมชนตรัง จุฬาภรณ์ บุรีรัมย์ วิจัยสังคม จุฬาฯ เครือข่าย จังหวัด โรงเรียน เทศบาล/อบต. สภาหอการค้า ผู้ประกอบการ บูรณาการงาน สุขภาพเด็ก บริหารจัดการน้ำมัน น้ำมันดีและน้ำมันมือสอง สื่อสาร สสส. วิทยุ จุฬาฯ สช. คคส. สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ โทรทัศน์ งานกิจกรรม สมัชชา การ์ตูน ละครวิทยุ ลิเก นโยบาย สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายระดับชาติ และระดับท้องถิ่น ความร่วมมือ (รัฐ เอกชน ผู้บริโภค)
นโยบายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประเด็น พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 การเข้าถึงยา มติสมัชชาฯ ครั้งที่ 1 การเข้าถึงยาถ้วนหน้าฯ แผนปฏิบัติการการเข้าถึงยาฯ นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ มติสมัชชาฯ ครั้งที่ 2 ยุติการส่งเสริมการขายยาฯ การตลาดอาหารเด็ก การจัดการปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ร่างแผนปฏิบัติการประเด็นการควบคุมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กฯ (ร่าง) พ.ร.บ. การตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.... แนวทางขับเคลื่อนมาตรการเร่งด่วน มติสมัชชาฯ ครั้งที่ 3 การควบคุมกลยุทธ์การตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก สินค้าไม่ปลอดภัย มติสมัชชาฯ ครั้งที่ 3 มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน (ร่าง) มติสมัชชาฯ ครั้งที่ 4 ความปลอดภัยทางอาหาร: การจัดการน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ
กระทรวงสาธารณสุข สาธารณสุข แผนภูมิ แนวทางการดำเนินงานการจัดการน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพของกระทรวงสาธารณสุข เอกสารหมายเลข 5 โรงครัวของโรงพยาบาลต่างๆ และโรงอาหารที่ตั้งในส่วนราชการกระทรวงสาธารณสุข ปลอดน้ำมันทอดซ้ำฯ (ตัวอย่างที่ดี) กระทรวงสาธารณสุข สาธารณสุข กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข กลุ่มงานสุขาภิบาลอาหาร กิจกรรมสำคัญ โรงพยาบาลชุมชน/ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในพื้นที่รับผิดชอบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการในพื้นที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ผู้ประกอบการรายใหญ่โดยตรง เช่น แม็คโคร, เทสโก้ โลตัส, บิ๊กซี โรงอาหาร, กลุ่ม OTOP, โรงงานของทอด เป็นต้น จำนวนท้องถิ่นที่ดำเนินการเป็นท้องถิ่นต้นแบบ.......แห่ง จำนวนผู้ประกอบการที่ทราบกำหนดเวลาเปลี่ยนน้ำมันใหม่....ราย จำนวนหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข เป็นแบบอย่างที่ดีจัดการน้ำมันเสื่อมสภาพ....แห่ง จำนวนพื้นที่ ที่สามารถจัดการน้ำมันเสื่อมสภาพไม่กลับสู่วงจรอาหาร....แห่ง รูปแบบ ผสมผสานในงาน อย.น้อย / งานอาหารปลอดภัย / งานด่านอาหารและยา ให้ความรู้อันตรายการบริโภคน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย ให้ความรู้ข้อกฎหมายแก่กลุ่มเป้าหมาย สอนวิธีใช้ชุดทดสอบที่ถูกต้อง และวิธีดำเนินการเพื่อความปลอดภัยผู้บริโภค มีการตรวจสอบ รู้กำหนดเวลาเปลี่ยนน้ำมันใหม่ของผู้ประกอบการอาหาร ผสมผสานในงานกรมอนามัย : ตลาดสดน่าซื้อ และโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด
ตรัง เครือข่าย เข้มแข็ง บูรณาการ งานชัดเจน เป็นบริหาร สสจ. ศึกษา อปท. ผู้บริโภค พลังงาน อปท. ตรัง เครือข่ายภายนอก
www.thaihealthconsumer.org Consumer_sss@yahoo.com แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไก คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (คคส.) www.thaihealthconsumer.org Consumer_sss@yahoo.com