งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย ประชากรกลุ่มอายุ 20-50 ปี - Setting 3 ภาค ( เหนือ กลาง ใต้ รวม 57 จังหวัด ) - เครือข่าย กระทรวงมหาดไทย ( ผู้ว่าราชการจังหวัด ) ทบวงมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่างๆ NGO เช่น โรตารี่ ให้การสนับสนุนงบประชาสัมพันธ์ ภาคเอกชน เช่น รพ. เอกชน ศูนย์การค้า ตลาด กระทรวงแรงงาน ( แรงงานจังหวัด ) กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงกลาโหมได้แก่ รพ. ค่ายทหาร กระทรวงยุติธรรม ( เรือนจำ )

2 1.2 โรคหัด - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ใน ประชากรเป้าหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุก จังหวัด - เป้าหมาย เด็กที่เกิดตั้งแต่ มิ. ย. 51 – 31 มค. 55 (2.5-7 ปี ) - Setting ทั่วประเทศ - เครือข่าย กระทรวงศึกษาธิการ ( โรงเรียนอนุบาล, โรงเรียน ประถมที่เปิดชั้นอนุบาล ) โรงพยาบาลค่าย อปท ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ) ศูนย์สาธารณสุขของเทศบาล

3 ข้อตกลงเพื่อบรรลุตัวชี้วัด โรคคอตีบ + โรคหัด 1. แจ้งและประสานเครือข่าย ( สคร. และสสจ. จัด ประชุมชี้แจงเครือข่าย ) ( สสจ. สสอ. รพ. รพ. สต.) 2. จัดทำสื่อ / ประชาสัมพันธ์ ส่วนกลาง airwar สคร.(Ground war) ได้แก่ จัดทำสื่อต้นแบบ แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ /CD 3. สสจ. แต่งตั้งคณะทำงานหรือคณะกรรมการที่ รับผิดชอบโครงการรณรงค์ ( แจ้งผู้บริหารในเวที เขตบริการสุขภาพ ) 4. สสจ. มีการสำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อเบิกวัคซีน

4 ข้อตกลงเพื่อบรรลุตัวชี้วัด ( ต่อ ) 5. สสจ. ติดตามกลุ่มเป้าหมายมารับวัคซีน 6. สนับสนุนทางวิชาการ เช่น ให้คำปรึกษาทั้ง หน่วยบริการและประชาชน 7. ติดตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายของแต่ละจังหวัด สำหรับการเบิกจ่ายวัคซีน จังหวัด สคร. ส่วนกลาง 8. สคร. ติดตามผลการฉีดวัคซีนทุกวันศุกร์ ( จัดทำ รายงานเสนอผู้ตรวจ ) 9. สคร. สุ่มเยี่ยมติดตามความครอบคลุมการได้รับ วัคซีน ( จัดทำแบบสอบถามในการรับรู้ของ ประชาชน )

5 National Program โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

6 National Program 1. สุ่มสำรวจกลุ่มเสี่ยง วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโดยกำหนดกลุ่มพื้นที่และกลุ่ม ประชากรที่จะดำเนินการ สคร. ลงดำเนินการสำรวจในพื้นที่ ( แนวทาง STAG 1 ครั้ง และนอกรอบ 1 ครั้งในบางสคร.) สรุปวิเคราะห์รายงานผลสำรวจและวางแผนแก้ไข ปัญหาร่วมกับทางจังหวัด ผลักดันให้มีการเสนอผลการดำเนินงานและแนว ทางแก้ไขในเวทีผู้ตรวจ 2. นิเทศติดตามการดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค + ประเมินมาตรฐาน + รับรอง นักเรียน +(FLU LAJE dT MR HPV) ลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมนิเทศติดตาม สรุปวิเคราะห์รายงานผลสำรวจและวางแผนแก้ไข ปัญหา ผลักดันให้มีการเสนอผู้ตรวจ

7 National Program 3. ประชุมถ่ายทอดแนวทางการให้บริการวัคซีน LAJE ( สคร. 3 4 9) dT MR ทุกสคร. ยกเว้นสคร. 5 6 7 HPV ( สคร. 1) 4. ประสานพื้นที่ ( จังหวัดให้ดำเนินการสำรวจ SIA โดย การหยอดวัคซีนโปลิโอ ) 5. ไข้หวัดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ทั้ง airwar ( ส่วนกลาง ) และ Ground war ( สคร.) มุ่งเน้นไปที่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กกลุ่ม อายุ 6 เดือน – 2 ปี ให้ สสจ. ดำเนินการกระตุ้นบุคลากรกลุ่มเสี่ยงให้มาฉีด วัคซีน เพราะส่วนใหญ่ที่ฉีดคือกลุ่ม back office ติดตามความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคในการ ดำเนินงานเป็นระยะ


ดาวน์โหลด ppt 1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google