ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ ขั้นตอนการคำนวณคุณสมบัติของของไหลในการ เรียนวิชากลศาสตร์ของไหล ชื่อผู้วิจัย / ตำแหน่ง นายเสกสรรค์ สัทธาอนันต์ ตำแหน่ง หัวหน้า โรงงานหมวดวิชาเทคนิคพื้นฐาน สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ในการเรียนการสอนวิชา กลศาสตร์ของ ไหล เนื้อหาในบทที่ทำการวิจัยนี้จะเน้นถึง การศึกษาเกี่ยวกับหลักการคำนวณคุณสมบัติ ของของไหล ผู้สอนพบปัญหาในการจัดการเรียนการ สอนที่นักศึกษาขาดความเข้าใจหลักการ คำนวณหาคุณสมบัติของของไหลจึงทำให้ นักศึกษาไม่สามารถหาค่าคุณสมบัติของของ ไหลได้ จึงส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่ายและไม่ น่าสนใจของผู้เรียน ซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนควรได้รับการ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การเรียนวิชากลศาสตร์ ของไหล สัมฤทธิ์ผลตามจุดประสงค์ของการ จัดการเรียนการสอน ปัญหา การวิจัย
1. เพื่อหาวิธีคำนวณคุณสมบัติของ ของไหล ในรายวิชากลศาสตร์ของไหล รหัส วิชา สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัด กิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ ขั้นตอนการคำนวณคุณสมบัติของของไหล ในวิชากลศาสตร์ของไหล รหัสวิชา โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน วัตถุประ สงค์
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนวิชากลศาสตร์ของไหล คะแนน ร้อยละ S.D. ————————————————————————————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน ————————————————————————————————— —————— จากตารางที่ 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนมี ค่าเฉลี่ย ( = 4.67) (S.D. = 1.046) คิดเป็นร้อย ละ 46.7 = 8.73 ) (S.D. = 1.08 ) คิดเป็นร้อย ละ ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบ หลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของคะแนน ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ คะแนน ร้อยละ S.D. t ——————————————————————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน ——————————————————————————— —————————— T (.05, df 15 ) = จากตารางที่ 2 พบว่าค่า t ที่คำนวณได้มีค่าเท่ากับ ส่วนค่า t จากตารางที่ระดับ.05, df 15 มีค่าเท่ากับ ซึ่งค่า t ที่ได้ จากการคำนวณมีค่ามากกว่าค่า t ในตาราง นั่นคือคะแนนที่ได้จาก การทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กลศาสตร์ของไหลเรื่อง คุณสมบัติของของไหล ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัด กิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณ คุณสมบัติของของไหล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียน (S.D. = ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลัง เรียนมีค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = ) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนวิชากลศาสตร์ของไหลเรื่อง คุณสมบัติ ของของไหล ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้ การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณคุณสมบัติของของไหล พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน สรุปผล การศึกษา
2. เป็นส่วนในการช่วยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การนำผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ 1. เป็นแนวทางสำหรับครูอาจารย์ที่สนใจการใช้การสอน โดยการใช้การจัดลำดับขั้นตอนการ คำนวณความเค้น 3. เป็นแนวทางการวิจัยโดยใช้วิธีการสอนโดยการใช้ การจัดลำดับขั้นตอนการคำนวณในการ เรียนวิชาคำควณ ในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป
จบการ นำเสนอ