การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนได้นำเสนอโดยใช้ โปรแกรม Microsofe office : power point ในการบรรยาย ปรากฏว่านักศึกษาไม่สนใจที่จะฟังการบรรยาย และไม่จดบันทึก การเรียนการสอน ในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมขาด ความรับผิดชอบในการส่งรายงาน การบ้านและงานที่ได้ มอบหมาย ส่งผลให้ผลการเรียนของนักศึกษาต่ำลงเรื่อยๆ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ความสำคัญของปัญหา (ต่อ) ดังนั้นผู้วิจัยจึงมุ่งที่จะทำการปรับพฤติกรรมในชั้น เรียน และศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากที่ได้ทำการปรับ พฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อปรับพฤติกรรมการเรียนและการส่งงานของนักศึกษาราย วิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2. เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลังการปรับพฤติกรรมการเรียน และการส่งงาน
กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น : แบบปรับพฤติกรรมการเรียน และการส่งงาน ตัวแปรตาม : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการส่งงาน กรอบแนวคิดในการวิจัย สาเหตุ/วิธีแก้ไข ปัญหาการเรียนรู้ ใช้แบบปรับพฤติกรรมการเรียน และการส่งงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการส่งงานของนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง นักเรียน สาขาการท่องเที่ยว ห้อง 3/1 จำนวน 26 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล และ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบก่อนการเรียน และ แบบทดสอบหลังการเรียน ได้ผลการวิเคราะห์ ดังนี้
ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบก่อนการเรียน (Pre-test) จำนวน (คน) ร้อยละ 3 2 7.69 4 5 13 50 6 19.23 7 8
จากตารางที่ 1 พบว่าคะแนนทดสอบก่อนการเรียนส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับปานกลาง(5-6 คะแนน) ร้อยละ 50 และ 19.23 ตามลำดับ แสดงให้เห็นถึงพื้นความรู้ก่อนการเรียนของ นักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 อยู่ในระดับปานกลาง
ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบหลังการเรียน(post-test) จำนวน (คน) ร้อยละ 5 4 15.38 6 3 11.53 7 26.92 8 30.76 9 2 7.69 10
จากตารางที่ 2 พบว่าคะแนนทดสอบหลังการเรียนส่วนใหญ่อยู่ ในระดับดี (7-8 คะแนน) ร้อยละ 26.92 และ 30.76 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบผลคะแนนทดสอบก่อนการเรียน (Pre-test) (ตารางที่ 1) และคะแนนทดสอบหลังการเรียน (post-test) (ตารางที่ 2) แสดงให้เห็นว่าหลังจากปรับพฤติกรรมในชั้น เรียน จะส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภายหลังปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน ของ นักศึกษารายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สูงกว่าหลัง ปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน