การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
ชื่อผู้วิจัย สิตานันท์ ธีรศาสตร์ศิลป์
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
จำเริญ ติ่งต้อย วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวดาราพร รังรักษ์
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาศักยภาพทางความคิดในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ปวส.2 แผนกเคมีอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2555 ชื่อผู้วิจัย : นางสาวปัทมาวรรณ แสวงผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์
นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา นางพวงพลอย ขันเลข วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา เชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา คณิตศาสตร์ถือเป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ โดยเฉพาะการคิดอย่างมีเหตุผล มีแบบแผน คิดสร้างสรรค์และสามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างรอบคอบ แต่เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีเนื้อหานามธรรมเป็นส่วนมาก จึงยากที่จะให้นักศึกษาส่วนใหญ่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้ต้องมีทักษะในหลาย ๆ ด้านเพื่อช่วยในการคิดคำนวณให้ถูกต้อง เช่นเดียวกับการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน ผู้เรียนจะต้องใช้ทักษะการบวก ลบ คูณ หารเพื่อหาคำตอบ จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานให้แก่ผู้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้แบบหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการฝึกทักษะความเข้าใจในเรื่องที่เรียนไปแล้ว เป็นการทบทวนความรู้และเป็นพื้นฐานในการเรียนระดับสูงต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดด์ (Thorndike) ที่กล่าวว่า การฝึกหัดซ้ำ ๆ ทำบ่อย ๆ จะสามารถเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่ถูกต้องทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ยาวนานและคงทน ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีทักษะในการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานได้ดีขึ้นและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ต่อไป วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานของผู้เรียน ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา ผังสรุปสำคัญ ความเป็นมาของปัญหา : ผลคะแนนการทำแบบทดสอบเรื่องการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานค่อนข้างต่ำ กลุ่มตัวอย่าง : นักศึกษาในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล : 1. แบบฝึกทักษะจำนวน 5 ชุด ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ 1.1 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ 1.2 การเปลี่ยนเลขฐานอื่น ๆ เป็นฐานสิบ 1.3 การบวกเลขฐาน 1.4 การลบเลขฐาน 1.5 การคูณเลขฐาน 2.แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนมีลักษณะเป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

ตารางคะแนนก่อนเรียน หลังเรียน และค่าความต่างคะแนนของผู้เรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยการใช้แบบฝึกทักษะ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน , จำนวนนักศึกษา 19 คน) คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ค่าความต่าง 3 15 +12 2 10 +8 13 +13 6 23 +17 จำหน่าย 20 5 27 +22 30 +20 9 +9 4 14 +10 +15 19 7 + 2 51 258 +207 จากตาราง แสดงให้เห็นถึง ความก้าวหน้าด้านทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานของผู้เรียนหลังการเรียนโดยใช้แบบ ฝึกทักษะ ซึ่งมีระดับคะแนนความก้าวหน้าตั้งแต่ 2 ถึง 22 คะแนน คิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.89 คะแนน โดยพบว่า คะแนนความก้าวหน้าของผู้เรียนส่วนใหญ่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากที่ได้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะด้านการคำนวณเรื่องระบบเลขฐานของผู้เรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยการใช้แบบฝึกทักษะ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน ,จำนวนนักศึกษา 19 คน) การทดสอบ คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนเรียน 3.4 7.58 หลังเรียน 17.2 2.82 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

สรุปผลการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จากตาราง แสดงให้เห็นว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการทำแบบทดสอบของผู้เรียนหลังจากที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะสูงขึ้นจากคะแนนที่ได้ก่อนการสอน กล่าวคือ ก่อนการทดลองค่าเฉลี่ย ของคะแนนจากการทำแบบทดสอบของผู้เรียนคิดเป็น 3.4 คะแนน แต่เมื่อได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะแล้วคะแนนเฉลี่ยในการทำแบบทดสอบของผู้เรียนสูงขึ้นเป็น 17.2 คะแนน ซึ่งเพิ่มขึ้น 13.8 คะแนน อีกทั้งเมื่อพิจารณาจากส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน การทดสอบ ปรากฏว่าค่าการกระจายของคะแนนหลังการทำแบบฝึกทักษะน้อยลงกว่าก่อน ทำแบบฝึกทักษะดังจะเห็นได้จากค่าของ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ลดลงจาก 7.58 เป็น 2.82 หลังจากการทำแบบฝึกทักษะ ดังนั้น จึงสามารถสรุป ได้ว่า หลังจากการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะแล้ว ผู้เรียนมีทักษะในการคำนวณระบบเลขฐานเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าก่อนเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ สรุปผลการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ.... วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา