นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การนำเสนอผลงานการวิจัย
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง การปรับแต่งแผ่นสไลด์ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 โดยใช้แผนการสอนแบบ CIPPA นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา ปัญหาการวิจัย ปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาการใช้โปรแกรมนาเสนอข้อมูล เรื่อง การปรับแต่งแผ่นสไลด์ ที่ผ่านมาปัญหาที่พบมากคือ นักเรียน-นักศึกษาไม่มีความเข้าใจในหลักการใช้โปรแกรมนาเสนอข้อมูล แสดงออกทางแผ่นสไลด์ การปรับแต่งข้อความงานนาเสนอ จุดเน้นเนื้อหาที่นาเสนอ ภาพประกอบการนาเสนอได้ จากการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น การใช้วิจัยแก้ปัญหาโดยการนำแผนการสอนแบบ CIPPA มาใช้ โดยการมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปรับแต่งแผ่นงานสไลด์งานนาเสนอข้อมูล และทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถในชั้นเรียน โดยครูผู้สอนคอยแนะนำ แนวทางการฝึกปฏิบัติ และคอยชี้แนะเมื่อมีข้อบกพร่องเกิดขึ้น

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา วัตถุประสงค์ เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีประสิทธิภาพ 80/80 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยการสอนแบบ CIPPA เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียน

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 194 คน วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มอย่างง่าย โดยการเจาะจงคือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 ห้อง 2 สาขาวิชาการขาย มีนักเรียนจำนวน 34 คน

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยจะดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดังนี้ ติดต่อนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ปีที่ 2 สาขาการขาย วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา เพื่อขอความร่วมมือในการตอบแบบทดสอบ นำแบบทดสอบ จำนวน 5 ข้อ ทดสอบกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ปีที่ 2สาขาวิชาการขาย ดำเนินการสอนและให้นักเรียนใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ทดสอบหลังการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ นำผลการทดสอบมาเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ สรุปผลการพัฒนาการเรียนรู้ ให้นักเรียนตอบแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกปฏิบัติ นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกปฏิบัติมาคำนวณหาค่าทางสถิติ

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ตามเกณฑ์ 75/75 รายการ คะแนนเต็ม µ σ % คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบย่อยระหว่างเรียน (E1) 34 10 0.52 81.76 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (E2) 0.77 87.94

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา สรุปผลการวิจัย การเรียนการสอนแบบ CIPPA มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 81.76/87.94 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแบบ CIPPA โดยรวมอยู่ในระดับ ดีมากที่สุด (μ = 4.81) เมื่อพิจารณาราประเด็น พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับดีมากที่สุด ได้แก่ การใช้ชุดฝึกปฏิบัติสามารถปรับปรุงรายการได้ดีขึ้น หลังจากใช้ชุดฝึกปฏิบัติสามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้ชุดฝึกปฏิบัติช่วยให้ผู้เรียนสนใจในการเรียน การใช้ชุดฝึกปฏิบัติช่วยให้ผลคะแนนดีขึ้น หลังจากใช้ชุดฝึกปฏิบัติผู้เรียนสามารถเข้าใจในหน่วยถัดไป