นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง การปรับแต่งแผ่นสไลด์ ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 โดยใช้แผนการสอนแบบ CIPPA นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา ปัญหาการวิจัย ปัญหาในการเรียนการสอนในวิชาการใช้โปรแกรมนาเสนอข้อมูล เรื่อง การปรับแต่งแผ่นสไลด์ ที่ผ่านมาปัญหาที่พบมากคือ นักเรียน-นักศึกษาไม่มีความเข้าใจในหลักการใช้โปรแกรมนาเสนอข้อมูล แสดงออกทางแผ่นสไลด์ การปรับแต่งข้อความงานนาเสนอ จุดเน้นเนื้อหาที่นาเสนอ ภาพประกอบการนาเสนอได้ จากการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น การใช้วิจัยแก้ปัญหาโดยการนำแผนการสอนแบบ CIPPA มาใช้ โดยการมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปรับแต่งแผ่นงานสไลด์งานนาเสนอข้อมูล และทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถในชั้นเรียน โดยครูผู้สอนคอยแนะนำ แนวทางการฝึกปฏิบัติ และคอยชี้แนะเมื่อมีข้อบกพร่องเกิดขึ้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา วัตถุประสงค์ เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีประสิทธิภาพ 80/80 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยการสอนแบบ CIPPA เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 194 คน วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มอย่างง่าย โดยการเจาะจงคือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 ห้อง 2 สาขาวิชาการขาย มีนักเรียนจำนวน 34 คน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยจะดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดังนี้ ติดต่อนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ปีที่ 2 สาขาการขาย วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา เพื่อขอความร่วมมือในการตอบแบบทดสอบ นำแบบทดสอบ จำนวน 5 ข้อ ทดสอบกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ปีที่ 2สาขาวิชาการขาย ดำเนินการสอนและให้นักเรียนใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ทดสอบหลังการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ นำผลการทดสอบมาเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกปฏิบัติ สรุปผลการพัฒนาการเรียนรู้ ให้นักเรียนตอบแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกปฏิบัติ นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกปฏิบัติมาคำนวณหาค่าทางสถิติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ตามเกณฑ์ 75/75 รายการ คะแนนเต็ม µ σ % คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบย่อยระหว่างเรียน (E1) 34 10 0.52 81.76 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (E2) 0.77 87.94
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา สรุปผลการวิจัย การเรียนการสอนแบบ CIPPA มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 81.76/87.94 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแบบ CIPPA โดยรวมอยู่ในระดับ ดีมากที่สุด (μ = 4.81) เมื่อพิจารณาราประเด็น พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับดีมากที่สุด ได้แก่ การใช้ชุดฝึกปฏิบัติสามารถปรับปรุงรายการได้ดีขึ้น หลังจากใช้ชุดฝึกปฏิบัติสามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้ชุดฝึกปฏิบัติช่วยให้ผู้เรียนสนใจในการเรียน การใช้ชุดฝึกปฏิบัติช่วยให้ผลคะแนนดีขึ้น หลังจากใช้ชุดฝึกปฏิบัติผู้เรียนสามารถเข้าใจในหน่วยถัดไป