การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร สำหรับบุคลากรสายสนับสนุน ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน Development of Web-Based Training on Using Registration Processing and Curriculum System for Academic Support Staff of Pathumwan Institute of Technology. ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ นางสาวสุทธวรรณ บุญราศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. พัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร สำหรับพนักงานสายสนับสนุน สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 3. ศึกษาความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึกอบรม
กรอบแนวคิดของงานวิจัย INPUT เว็บฝึกอบรม ระบบงานทะเบียนฯ พนักงานสายสนับสนุน การพัฒนา โดยรูปแบบการเรียนการสอน (A : Analysis) (D : Design) (D : Development) (I : Implementation) (E : Evaluation PROCRESS OUTPUT การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร OUTcome ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึกอบรม
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พนักงานสายสนับสนุนจำนวน 30 คน ขอบเขตการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พนักงานสายสนับสนุนจำนวน 30 คน
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น คือ เว็บฝึกอบรม ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม ตัวแปรตาม คือ 2. ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึกอบรม
วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 1 แบ่งได้เป็น 2 ระยะ ขั้นที่ 1. การวิเคราะห์ (A : Analysis) ขั้นที่ 2. การออกแบบ (D : Design) ขั้นที่ 3. การพัฒนา (D : Development) ขั้นที่ 4. การทดลองใช้ (I : Implementation) ขั้นที่ 5 การประเมินผล (E : Evaluation
การประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา ในภาพรวม ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.48, S.D=.0.60 เมื่อพิจารณาตามรายด้าน - ด้านที่มีคุณภาพสูงสุดคือภาษา เสียง และภาพ ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.67, S.D=.0.49 ถัดมา - คือเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.39, S.D=.0.63 การประเมินคุณภาพด้านเทคนิค ในภาพรวม ได้ผลที่ระดับ ดี X = 4.16, S.D=.0.47 เมื่อพิจารณาตามรายด้าน - ด้านที่มีคุณภาพสูงสุดคือภาพ เสียง และวีดีทัศน์ ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.32, S.D=0.48 ถัดมา - คือเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.15, S.D= 0.59
ระยะที่ 2 ขั้นที่ 1 . ดำเนินการทดลอง ทดลองกลุ่มตัวอย่าง 30 คน ทำแบบทดสอบ ก่อน และหลัง ฝึกอบรม ขั้นที่ 2 . เก็บรวบรวมข้อมูล ประเมินผลระดับความพึงพอใจ นำผลมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนและหลังเรียน นำผลแบบประเมินความพึงพอใจต่อสื่อการฝึกอบรม
สรุปผลการทดลอง ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังฝึกอบรม ผลสัมฤทธิ์ คะแนนเต็ม X S.D. T-test Sig. ก่อนทดลอง 30 10.00 430 14.56** .00 หลังทดลอง 24.20 3.05
ผลความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมบนเว็บ รายการประเมิน X S.D. ระดับระดับ ความพึงพอใจ ด้านอักษร 4.27 0.60 มาก ด้านภาพกราฟฟิก 4.56 0.54 มากที่สุด ด้านตัวอักษรและสี 4.36 0.68 ด้านเสียงบรรยาย 4.41 ด้านการนำเสนอเนื้อหา 4.40 ประโยชน์จากการใช้เว็บฝึกอบรม 4.64 0.48 ภาพรวม 4.44
สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมบนเว็บ การประเมินความพึงพอใจ ในภาพรวม ได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.44, S.D=.0.60 - ด้านที่พีงพอใจสูงสุดคือประโยชน์จากการใช้เว็บฝึกอบรมได้ผลที่ระดับ มาก X = 4.64, S.D=.0.48 รองลงมา - คือด้านเสียงบรรยาย พึงพอใจ ได้ที่ระดับ มาก X = 4.41, S.D=.0.60
อภิปรายผล ผลการพัฒนาเว็บฝึกอบรม อยู่ในระดับดี มีคุณภาพ ซึ่งสื่อที่สร้างขึ้นโดยอาศัย การสร้างสื่อตามขั้นตอน ของ ADDIE MOODLE ผลสัมฤทธิ์หลังเข้าฝึกอบรม สูงกว่าก่อนเข้าฝึกอบรม จักรพงษ์ เมืองสุข (2550) เว็บฝึกอบรมสำหรับพนักงานสามารถนำไปใช้ในการฝึกอบรมผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายองค์กรได้ ความพึงพอใจ ของการใช้เว็บฝึกอบรม กชกร (2544) ความพึงพอใจเป็นส่วนสำคัญต่อความสำเร็จ และประสิทธิภาพของการทำงาน อันมีผลจากความต้องการได้รับการตอบสนอง ตามความประสงค์ของบุคคล
ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนาเว็บเพื่อการฝึกอบรม ผู้วิจัยควรมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาโปรแกรมและทฤษฎีการออกแบบและทฤษฎีการเรียนรู้และกระบวนการสร้างเว็บเพื่อการฝึกอบรม รูปแบบ e-Training เป็นอย่างดี และต้องศึกษาโปรแกรมใหม่ๆ 2. ผู้วิจัยควรศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของผู้อบรมก่อน เพื่อความสะดวก และความรวดเร็วในการอบรม 3. ควรมีการสนับสนุนให้มีการใช้เว็บเพื่อการฝึกอบรมในสถาบันการศึกษาทุกระดับชั้น
จบการนำเสนอ