ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาแผนกการบัญชีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์
รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อัตราส่วนตรีโกณมิติ ที่เรียนด้วยการสอนแบบ STAD และการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องทำ ความเย็นและปรับอากาศ 1 เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็นที่ สอนโดยใช้ ชุดสาธิตการต่อวงจร

วัตถุประสงค์การวิจัย 1.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับ อากาศ 1 (2104-2110) ของนักเรียน ปวช.2/4 เรื่องการต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็น ที่สอนโดยใช้ชุดสาธิตการต่อวงจร 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับหลังเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 1 เรื่องการต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็น ที่สอนโดยใช้ชุดสาธิตการต่อวงจร

กรอบแนวคิดตัวแปรการวิจัย 1. ตัวแปรอิสระได้แก่วิธีการเรียนเรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็นที่สอนโดยใช้ ชุดสาธิตการต่อวงจร ได้แก่ นักเรียน สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขางาน ไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/4 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก จำนวน 38 คน ระหว่างการเรียนด้วยสื่อการสอนชุดสาธิตการต่อวงจร กับ การเรียนปกติ 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 1 เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็นของ นักเรียนชั้นปวช.2/4

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนสาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)ชั้นปีที่ 2/4 วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ1 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ทั้งหมดจำนวน 38 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้วางแผนการทดลองโดยใช้กลุ่มเดียวจำนวน 38 คน มีลักษณะของการทดสอบนักเรียน ก่อนเรียน (Pre-test) ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน (Treament) ทดสอบนักเรียนหลังเรียน (Post-test)

ตารางการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 1 (2104-2110) คะแนน ร้อยละ 𝑥 S.D. คะแนนทดสอบก่อนเรียน 35 5.8 2.91 คะแนนทดสอบหลังเรียน 82 1.3 1.72

ผลการวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 1 เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็นของ นักเรียนชั้นปวช.2/4 โดยใช้ ชุดสาธิตการต่อวงจร พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 5.8 (S.D. = 2.91)และผมสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 1.3 (S.D. =1.72) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์คะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ 1 (2104-2110) เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าตู้เย็น ของนักเรียนชั้นปวช.2/4 ที่สอนโดยใช้ชุดสาธิตการต่อวงจรพบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 5.8 (S.D. = 2.91) ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 1.3 (S.D. = 1.72) ดังนั้นผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

ข้อเสนอแนะ ควรมีการสร้างสื่อที่ใช้ในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ในรูปแบบของสื่อการสอนแบบให้นักเรียนได้ฝึกทำจริงให้มากขึ้น ควรมีการพัฒนารูปแบบของสื่อการสอนให้มีความน่าสนใจมากขึ้น

จบการนำเสนอ