เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Priciples of Marketing
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบการบริหารการตลาด
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
YOUR LOGO Page  2 เป้าหมาย 1. เข้าใจถึงอิทธิพลของการแข่งขัน ในยุคทุนนิยมเสรี และผลกระทบต่อภาพรวมของ ประเทศและต่อองค์กร 2. รู้แนวคิด สูตร แนวทางปฎิบัติที่
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
วิธีการคิดวิเคราะห์.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ฐานความคิดที่น่าสนใจ เพื่อการจัดการปัญหาและการตัดสินใจ

1. แนวคิดใหม่ของการแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองระดับโลก ที่ต่อเนื่องและรุนแรง จากแนวคิดเดิม อาศัยความได้เปรียบการแข่งขันจากขนาด ( Economic of Scales: Scales-based competition) เพื่อให้ได้ต้นทุนการผลิตต่ำกว่า เป็น การอาศัยความรวดเร็ว ( Economic of Speed: Speed-based competition) ที่สามารถผลิตสินค้า/บริการออกสู่ตลาดได้เร็วกว่าคู่แข่ง ตอบสนองความต้องการได้ดีกว่า

อนาคต ปัจจุบัน ไปสู่ การแข่งขันที่ต้องใช้ความเร็ว การแข่งขันเชิงขนาด ทรัพย์สินทางปัญญาและทักษะ การสร้างความเชื่อมโยงและเข้าถึง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การให้ความสำคัญต่อลูกค้า/ ผู้รับบริการ ปัจจุบัน ไปสู่ การแข่งขันเชิงขนาด ทรัพย์สินทางกายภาพ การเป็นเจ้าของทุน การเน้นต้นทุน การมุ่งการผลิต

2. การอ่านออกเขียนได้ในยุคโลกาภิวัตน์ อาศัยความรู้ 3 ด้าน คือ 2.1 ภาษาอังกฤษ 2.2 การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ 2.3 ความเข้าใจในวัฒนธรรมนานาชาติ

กระบวนการแก้ปัญหา การกำหนดปัญหา การวิเคราะห์ข้อมูล การค้นหาสาเหตุ การติดตามผล

การกำหนดปัญหา ปัญหา คือ ผลแตกต่างระหว่างสิ่งที่คาดหวังไว้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ยอมรับไม่ได้ ไม่รู้สาเหตุ ต้องได้รับการแก้ไข มิฉะนั้นจะเกิดความเสียหาย

การวิเคราะห์ข้อมูล คำถามที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล - อะไรคือตัวปัญหา - ปัญหาเกิดขึ้นที่ไหน/สังเกตเห็นที่ไหน - ปัญหาเกิดขึ้นเมื่อไร/พบครั้งแรก - จำนวนปัญหามีมากน้อย/ความเสียหาย

การค้นหาสาเหตุของปัญหา แนวทางค้นหาสาเหตุ - ความละเอียดแม่นยำ - ค่าใช้จ่าย - ระยะเวลา - ผลกระทบ - บุคลากร - อำนาจ สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ - อารมณ์ ความรู้สึก ความกดดัน

การแก้ปัญหา หาทางเลือกในการแก้ปัญหา และตัดสินใจ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ หาทางเลือกในการแก้ปัญหา และตัดสินใจ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. หยุด-พัก-คิด 2. ให้คำนิยามปัญหา 3. หาแนวทาง/วิธีการแก้ไข พร้อมข้อดี/ข้อเสียของแต่ละวิธีการ 4. เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด 5. วางแผนและดำเนินการแก้ไข

การติดตามผล 2. สิ่งที่มีปัญหาได้ถูกเรียกกลับและแก้ไข 1. สาเหตุของปัญหาได้ถูกแก้ไข 2. สิ่งที่มีปัญหาได้ถูกเรียกกลับและแก้ไข 3. ไม่มีสิ่งเบี่ยงเบนหรือการเรียกร้อง/ร้องเรียนอื่นอีก 4. มีการป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นอีก

เครื่องมือช่วยแก้ปัญหา: การระดมสมอง กำหนดปัญหาและเป้าหมายในการระดมสมอง รวมกลุ่มระดมสมอง ชี้แจงเป้าหมาย ระดมความคิดจากผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมีกฎการระดมสมอง คือ การคิดอย่างเป็นอิสระ การรับฟังความเห็นของผู้อื่น ห้ามวิจารณ์ในระหว่างแสดงความเห็น ปริมาณยิ่งมากยิ่งดี มีแบบฟอร์มบันทึกทุกความเห็น (ระบุขอบเขตและเป้าหมายที่ ชัดเจน)

บันทึก จัดกลุ่มความติดที่เหมือนๆ กัน และอ่านความคิดที่เกิดจากการระดมสมอง พิจารณาคุณภาพของความคิด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ