โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย) เป้าหมาย : องค์กรท้องถิ่น/ชุมชน สามารถบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง/เปราะบางได้ ในภาวะภัยพิบัติ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ประสบภัยพิบัติ

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕-๕๘ การเตรียมการด้านอาหารและโภชนาการ ก่อนเกิดภัยพิบัติ การจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ขณะเกิดภัยพิบัติ สร้างความตระหนักให้ประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหาร และโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ดำเนินการตามมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ สำรวจและเตรียมคลังอาหารในชุมชน พัฒนานวัตกรรมในการจัดเก็บและถนอมอาหาร สร้างระบบเตือนภัยด้านอาหารและโภชนาการ จัดเตรียมและกระจายอาหาร เตรียมระบบการจัดการด้านการขนส่ง (logistics) ข้อแนะนำการจัดถุงยังชีพสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง/กลุ่มประชาชนทั่วไป ข้อแนะนำในการจัดเตรียมอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบางในศูนย์พักพิง/ชุมชน ข้อแนะนำการจัดอาหารกล่อง จัดทำทะเบียนภาคีเครือข่ายด้านอาหารและโภชนาการ จัดทำทะเบียนผู้ประกอบอาหาร/แม่ครัวอาสา พัฒนาศักยภาพ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและติดตาม ข่าวสารเพื่อเฝ้าระวังด้านอาหารและโภชนาการอย่างสม่ำเสมอ จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเปราะบางและ mapping พื้นที่ ฐานข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ ติดตามและประเมินผล จัดหาและเตรียมสถานที่พักพิง จัดทำเครื่องหมายแสดงสถานภาพหรือจำนวนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเปราะบางติดไว้ที่พักอาศัย ความเหมาะสม/การยอมรับ/คุณภาพ/ความปลอดภัย การฟื้นฟูและเตรียมการด้านอาหารและโภชนาการหลังเกิดภัยพิบัติ พัฒนาแนวทางการจัดการอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง การวางแผน แบ่งปัน กระจายอาหาร จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ ประเมินภาวะโภชนาการของกลุ่มเสี่ยงและการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยง พัฒนาระบบเฝ้าระวังความมั่นคงอาหารและโภชนาการทุกระดับ ให้ความรู้และคำแนะนำแก่ครอบครัว ชุมชน เตรียมกำลังคน และแบ่งภาระหน้าที่ ใน 3 ระดับ เวทีแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนจากครัวเรือน ชุมชน เจ้าหน้าที่ ชุมชน/อาสาสมัคร ฯ ครัวเรือน พัฒนาโมเดลต้นแบบในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ พัฒนาศักยภาพ แหล่งเรียนรู้

โครงการส่งเสริมสุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการ ในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕ สร้างความตระหนักให้ประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ (๕๕) จัดทำคู่มือประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ประชาสัมพันธ์การเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ จัดทำมาตรฐานการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติของกลุ่มเปราะบาง (๕๕) จัดทำคู่มือในการบริหารจัดการอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง (๕๕) - จัดทำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการในประชากรกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง - จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ - พัฒนาสูตรอาหารให้ได้คุณค่าทางโภชนาการ สะอาด สะดวกและง่ายต่อการนำไปใช้ในภาวะภัยพิบัติ จัดเตรียมข้อแนะนำการจัดถุงยังชีพสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง (๕๕) เสริมสร้างศักยภาพของภาคีที่เกี่ยวข้อง (๕๕-๕๖) พัฒนาศักยภาพของแม่ครัวอาสาหรือผู้ประกอบอาหารของชุมชนหรือศูนย์พักพิงในภาวะภัยพิบัติ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (เจ้าหน้าที่ ชุมชน อาสาสมัคร บุคคลทั่วไป)แบบมีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ (๕๕) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการ ในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕ พัฒนาโมเดลต้นแบบในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ (๕๖) - ศูนย์พักพิง - ชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังความมั่นคงอาหารและโภชนาการในทุกระดับ (๕๕-๕๖) ประชุมระดมสมองเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อร่วมวางระบบเฝ้าระวังด้านความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการ (๕๕)