มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย 1. วางระบบมาตรการและมาตรฐานความปลอดภัย 2. กำหนดและดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ กฎ มาตรการ และมาตรฐานความปลอดภัยด้าน สาธารณภัย 3. ดำเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง งานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง ความรับผิดชอบทางอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่นที่อยู่ในอำนาจของกรม 4. วางระบบการบริหารจัดการเครื่องมือ เครื่องจักรกล วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้กิจการสาธารณภัย 5. ประเมินความเสียหายจากสาธารณภัยและจัดทำโครงการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ 6. ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ ยานพาหนะ เครื่องจักรกล อุปกรณ์กู้ภัย การให้คำปรึกษาแนะนำ ระบบงานและงานทางด้านวิชาการเครื่องจักรกล ให้แก่หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มิติคุณภาพ การให้บริการ พัฒนาหรือจัดระบบกฎหมายในความรับผิดชอบให้เป็นฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของกรม ปภ. การสนับสนุนเครื่องจักรกลเพื่อปฏิบัติงานป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟูสาธารณภัย ศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบเตือนภัย : ประเมินความเสี่ยงอัคคีภัยในชุมชน ศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบการอพยพผู้ประสบภัย การกำหนดมาตรการ ประหยัดพลังงาน มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ การพัฒนาบุคลากร ในสำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร
เป้าประสงค์และตัวชี้วัด สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย เป้าหมาย น้ำหนัก (ร้อยละ) 1. เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ ยานพาหนะ เครื่องจักรกล อุปกรณ์กู้ภัย 1. ระดับความสำเร็จของการจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในงานสาธารณภัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ขั้นตอนที่ 5 15 2. ศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบเตือนภัย : ประเมินความเสี่ยงอัคคีภัยในชุมชน 2. ระดับความสำเร็จของการศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบเตือนภัย: ประเมินความเสี่ยงอัคคีภัยในชุมชน 3. ศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบการอพยพผู้ประสบภัย 3. ระดับความสำเร็จของการศึกษาและพัฒนามาตรฐานระบบการอพยพผู้ประสบภัย 10
เป้าประสงค์และตัวชี้วัด สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย เป้าหมาย น้ำหนัก (ร้อยละ) 4. การให้คำปรึกษาแนะนำ ระบบงานและงานทางด้านวิชาการเครื่องจักรกลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับคำปรึกษาแนะนำการวางระบบบริหารงานด้านเครื่องจักรกลสาธารณภัย อย่างน้อย 300 แห่ง 10 5. พัฒนาหรือจัดระบบกฎหมายในความรับผิดชอบให้เป็นฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ และเผยแพร่บนเครือข่ายอินเตอร์เนตของกรม ปภ. 5.1 ผลสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนากฎหมายของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5.2 ผลสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขั้นตอนที่ 5 15 6. การสนับสนุนเครื่องจักรกลเพื่อปฏิบัติงานป้องกัน บรรเทา และฟื้นฟูสาธารณภัย 6. จำนวนครั้งที่สนับสนุนเครื่องจักรกลช่วยเหลือหน่วยราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกัน บรรเทา ฟื้นฟูงานสาธารณภัย 300 ครั้ง
เป้าประสงค์และตัวชี้วัด สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย เป้าหมาย น้ำหนัก (ร้อยละ) 7. การกำหนดมาตรการประหยัดพลังงาน 7. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายในการลดการใช้พลังงาน 10 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน งบประมาณ พ.ศ. 2551 ระดับ 5 2) ร้อยละของเครื่องปรับอากาศที่ได้ทำ ความสะอาดประจำปี (2 ครั้ง/ปี) ร้อยละ 100 3) ใช้หลอดไฟฟ้าแสงสว่างแบบประหยัดพลังงาน 8. การพัฒนาบุคลากรในสำนักมาตรการป้องกัน สาธารณภัย 8. จำนวนครั้งที่มีการประชุมแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ อย่างน้อย 12 ครั้ง 15