บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

Product and Price Management.
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
Product and Price ครั้งที่ 8.
Product and Price ครั้งที่ 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
Priciples of Marketing
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
การจัดการผลิตภัณฑ์และตราสินค้า
President Bakery PLC. Opportunity Day 3 March 2006
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การตลาดแบบเดิม(Inside out)
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) และ การกำหนดขอบเขตของงาน (TOR)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
Computer Application in Customer Relationship Management
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
นางสาวสิรินทรา มาลารัตน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์STP
Asst. Prof. Dr. Pattana Sirichotpundit, Ph.D.
แผนธุรกิจ บริษัท มนทิพ 1991จำกัด
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การออกแบบการวิจัย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
บทที่ 6 ความคิดสร้างสรรค์และ กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์ ตราผลิตภัณฑ์ หรือ ตราสินค้า (brand) คือ ชื่อ (name) คำ (term) เครื่องหมาย (sign) สัญลักษณ์ (symbol) แบบ (design) หรือส่วนประสมของ สิ่งที่กล่าวมาเพื่อแสดง บ่งบอกผลิตภัณฑ์ ของผู้ขายและทำให้แตกต่างไปจากผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขัน

องค์ประกอบของตราสินค้า 1. ชื่อตราสินค้าหรือยี่ห้อ (brand name) 2. ตราเครื่องหมาย (brand mark) 3. เครื่องหมายการค้า (trademark) 4. สัญลักษณ์ (logo)

ระดับการสื่อความหมายของตราสินค้า. 1. คุณสมบัติ (attribute). 2 ระดับการสื่อความหมายของตราสินค้า 1. คุณสมบัติ (attribute) 2. ผลประโยชน์ (benefits) 3. คุณค่า (value) 4. บุคลิกภาพ (personality)

ประโยชน์ของตราสินค้า 1. ประโยชน์ของตราสินค้าต่อผู้ขาย/ผู้ผลิต - บอกชื่อ แสดงรูปพรรณ หรือเอกลักษณ์ที่ใช้จดจำ สำหรับสินค้าให้แตกต่างจากผู้ขาย/ผู้ผลิตรายอื่น - เพื่อง่ายในการเสนอขาย และส่งเสริมการตลาด - ช่วยในการกำหนดตำแหน่งตราสินค้า และควบคุม ส่วนครองตลาด - เอื้ออำนวยในการขยายสายผลิตภัณฑ์ใหม่

ประโยชน์ของตราสินค้า (ต่อ) 2. ประโยชน์ของตราสินค้าต่อผู้ซื้อ - สะดวกในการจดจำ และการเลือกซื้อ - ทำให้รู้จักคุณภาพสินค้า และเห็นความแตกต่า ระหว่างสินค้า

ลักษณะตราสินค้าที่ดี 1. สั้นกะทัดรัด ออกเสียง และจดจำได้ง่าย 2. สามารถสะกดและออกเสียงได้ทุกภาษา 3. สื่อถึงตัวสินค้าหรือคุณภาพสินค้า 4. มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง 5. ง่ายต่อการส่งเสริมการตลาด 6. ทันสมัยไม่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา 7. ให้ความหมายและสร้างการรับรู้ของคนทั่วไปเป็นอย่าง เดียวกัน

คุณคุณค่าตราสินค้า คุณค่าตราสินค้า (brand equity) เป็นคุณค่าผลิตภัณฑ์ที่รับรู้ (perceived value) ในสายตาของลูกค้า คุณค่าตราสินค้าจะสร้างข้อ ได้เปรียบทางการแข่งขันดังนี้ 1. บริษัทจะสามารถลดค่าใช้จ่ายทางการตลาดได้ เพราะการ รู้จักตรา (brand awareness) และมีความภักดีต่อตราสินค้า (brand loyalty)

คุณคุณค่าตราสินค้า (ต่อ) 2. บริษัทเกิดสภาพคล่องทางการค้า สามารถต่อรองกับ ผู้จัดจำหน่ายและผู้ค้าปลีก เนื่องจากการคาดหวังการนำสินค้า มาจำหน่ายของผู้ค้าคนกลาง 3. บริษัทสามารถตั้งราคาได้สูงกว่าคู่แข่งขัน เนื่องจากรับรู้ คุณภาพตราสูงกว่าคู่แข่งขัน 4. บริษัทสามารถขยายตราสินค้าได้มากขึ้น เนื่องจากชื่อตรา สินค้าสร้างความน่าเชื่อถือได้สูง

ลักษณะของคุณค่าตราสินค้า 1. ความภักดีต่อตราสินค้าในสายตาของลูกค้า (customer brand loyalty) 2. การรู้จักชื่อตราสินค้า (name awareness) 3. คุณค่าที่เกิดจาการรับรู้ (perceived value) 4. ความสัมพันธ์ของตราสินค้ากับคุณค่าที่เกิดจาก การรับรู้

ขั้นตอนในการบำรุงรักษาตราสินค้า 1. สร้างคุณภาพที่สามารถยอมรับได้ และเป็นคุณภาพ ตามหน้าที่ที่สำคัญ (relevant functional quality) และ เป็นประโยชน์ด้านจิตวิทยา (psychological benefits) 2. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าที่สำคัญของตราสินค้า (understand brand’s core value)

ขั้นตอนในการบำรุงรักษาตราสินค้า (ต่อ) 3. การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (manage relationship with customers) และสร้างประสบการณ์ การบริโภคโดยรวม (total consumption experience) 4. จัดการตราสินค้าให้มีชีวิต (humanize the brands) 5. การสื่อสารตราสินค้า (brand communication)

การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (product positioning) หมายถึง กระบวนการซึ่งธุรกิจพยายามสร้างการรับรู้ในความ นึกคิดของผู้บริโภคที่มีต่อตัวผลิตภัณฑ์ หรือภาพพจน์ตรายี่ห้อของบริษัท เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง การกำหนดตำแหน่งสินค้า หรือการบริการสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งให้เกิดขึ้นในความรู้สึกของผู้บริโภค

วัตถุประสงค์ในการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ 1. เพื่อสร้างความแตกต่างในสินค้าของตน เพื่อการ กำหนดกลยุทธ์การตลาดที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อกำหนดแนวความคิดเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์สำหรับตลาดเป้าหมายแต่ละส่วน 3. เพื่อการเลือกพัฒนา และการกำหนดสัญลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด

หลักการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ 1. การวิเคราะห์คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ บริษัท และ คู่แข่งขัน 2. การวิเคราะห์ลักษณะของตลาดเป้าหมาย 3. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ 3.1 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามคุณสมบัติและ ผลประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 3.2 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามราคาและ/หรือ คุณภาพ

หลักการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 3.3 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามการใช้หรือ การนำไปใช้ 3.4 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ 3.5 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามระดับชั้น ผลิตภัณฑ์ 3.6 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์เพื่อการแข่งขัน 3.7 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามรูปแบบ การดำรงชีวิต

หลักการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 3.8 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามสัญลักษณ์ด้าน วัฒนธรรม 3.9 การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์จากหลายวิธี รวมกัน 4. การทดสอบแนวความคิดเกี่ยวกับตำแหน่งผลิตภัณฑ์ 5. การกำหนดผังแสดงตำแหน่งผลิตภัณฑ์ของบริษัท ของคู่แข่งขันในตลาด

หลักการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 6. การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งใหม่ของตราผลิตภัณฑ์ 6.1 การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งใหม่ของตราผลิตภัณฑ์ สู่ตลาดส่วนลาง 6.2 การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งใหม่ของตราผลิตภัณฑ์ สู่ตลาดส่วนบน