แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบฟอร์มที่ 1 สำนัก/กอง/ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
กลุ่มโรงงานเครื่องจักรกล มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีด ความสามารถการเตรียมความพร้อมในการ จัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2552-2554 วิสัยทัศน์ :เป็นหน่วยงานกลางของรัฐดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศที่มีมาตรฐานสากล เพื่อเป็นหลักประกันให้ประเทศไทยเป็นเมืองปลอดภัย น่าอยู่ พันธกิจ : 1. วางแผน เฝ้าระวัง ป้องกันและเตือนภัย 2. ปฏิบัติการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 3. ช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้ประสบภัย 4. ฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่ประสบภัย เป้าหมาย : เพื่อให้ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและของรัฐมีความปลอดภัยจากสาธารณภัย 1. การยกระดับขีดความสามารถใน การบริหารจัดการด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 2. การเพิ่มขีดความสามารถการเตรียมความพร้อมในการจัดการ สาธารณภัย 3. การบริหารจัดการ สาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน 4. การปรับปรุงการฟื้นฟูและบูรณะหลังเกิดภัย 5. การเสริมสร้างสมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง ประสิทธิผล ป้องกันและลดผลกระทบจาก สาธารณภัย ทั้งเชิงโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง ลดความเสี่ยงของประชาชนจากภัยพิบัติ ประชาชนได้รับความช่วยเหลือ และฟื้นฟูหลังเกิดภัยพิบัติ อย่างเป็นธรรมทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างพื้นฐานที่เสียหายได้รับการปรับปรุงและซ่อมบำรุงให้สามารถใช้งานได้ สร้างความพร้อมบริหารจัดการสาธารณภัย บริหารจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและทันต่อเหตการณ์ ความพึงพอใจในการบริการของกรม องค์กรมีขีดสมรรถนะสูง สังคมเกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย องค์กรเอกชน อาสาสมัคร ชุมชน และประชาชนเข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่าย บรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัย คุณภาพการให้บริการที่ได้มาตรฐานสากล คุณภาพการให้บริการ ระบบป้องกัน โดยนำแผน/มาตรการมาใช้ในการจัดการสาธารณภัย ฟื้นฟู บูรณะโครงสร้างพื้นฐาน ช่วยเหลือสงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ประสบภัยอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ระบบพยากรณ์และ การเตือนภัย ศูนย์เรียนรู้ทางวิชาการด้านภัยพิบัติระดับประเทศ/ภูมิภาค/จังหวัด สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สร้างเครือข่ายทุกระดับทั้งในประเทศและนอกประเทศ พัฒนาระบบบัญชาการและอำนวยการที่มีเอกภาพและประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติ การประสาน การสนับสนุนการช่วยเหลือทุกภาคส่วน ในการช่วยเหลือสงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ประสบภัย กระตุ้นให้ประชาชนมีความรู้ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและการรับรู้ข่าวสารด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สร้างหน่วยกู้ชีพ/กู้ภัย ที่มีประสิทธิภาพทุกระดับ กองทุนเพื่อความปลอดภัยด้านสาธารณภัย ประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการสาธารณภัย พัฒนาโครงสร้าง ในเชิงป้องกันด้าน สาธารณภัย จัดตั้งหน่วยประเมินความเสียหายและความเสี่ยง บริหารงานกองทุนเพื่อการฟื้นฟูผู้ประสบภัยที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบสื่อ สาร เพื่อการจัดการสาธารณภัย ผลักดันให้มีการนำแผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ /จังหวัด/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริม พัฒนาแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/จังหวัด/ อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดให้มีแผนแม่บทด้านสาธารณภัยครอบคลุมภัยทุกประเภทและส่งเสริมการใช้แผนแม่บทให้มีประสิทธิภาพเป็นรูปธรรม พัฒนาศักยภาพชุมชนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพิ่มศักยภาพของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกภาคส่วน พัฒนาและเชื่อมโยงข้อมูลด้านการช่วยเหลือ ฟื้นฟู ความเสียหายจาก สาธารณภัยอย่างเป็นระบบ ปรับปรุงระบบการประเมินและติดตามผลการบริหารจัดการสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างสมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง พัฒนาองค์กร ส่งเสริมการวิจัย พัฒนาและจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรสำหรับจัดการสาธารณภัย พัฒนาระบบกฎหมายด้าน สาธารณภัย ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก พัฒนาระบบบุคลากร พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้