ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

คำบรรยายพิเศษพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2549 สพท.ขอนแก่น เขต 4 นายสายัณห์ ผาน้อย.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประชุมใหญ่ คณาจารย์และบุคคลากร คณะบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2554
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
นโยบาย สพฐ. ปี
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
LOGO การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง. แผนที่เดินทาง Roadmap.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์

1.ระบบการศึกษาของท้องถิ่น(จังหวัด) 2.ระบบการผลิตครูของท้องถิ่น 3.ระบบการพัฒนาครูของท้องถิ่น (คุณภาพการเรียนรู้:LLEN)

บทเรียนระบบการศึกษาการผลิตและพัฒนาครูที่ผ่านมา 1.ปัญหาการศึกษาทุกวันนี้เกิดขึ้นจากเหตุผล 2 ประการ คือ 1. โลกเปลี่ยน และ 2. ระบบการศึกษาไทยไม่เปลี่ยน (สีลาภรณ์ บัวสาย) 2.ระบบการเรียนการสอนในระบบการศึกษาไทยขณะนี้ ต้องเรียกว่า “เก่งเป็นกระจุก แต่โง่กระจาย” 3.คนเก่งไม่เรียนครู กระบวนการคัดคนมาเรียนครูคับแคบเกินไป 4.การผลิตครูที่ “เกิน” ในเชิงปริมาณและ “ขาด” ในเชิงคุณภาพ 5. เน้นทฤษฏีมากกว่าปฏิบัติ ไม่เชื่อมโยงกับสภาพจริงในโรงเรียน 6. ปัญหาคุณภาพของอาจารย์ผู้เป็น “ครูของครู” 7. ระบบการผลิตครูยังไม่สามารถสร้างครูที่มีความรู้ลึกในวิชาการ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณครูได้ ฯลฯ

1.ระบบการศึกษาของท้องถิ่น สกว. ยุววิจัย, ครุวิจัย เรียนรู้คู่วิจัย วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ฯลฯ สพฐ โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสีขาว To be number one I SEE U สสส,ปตท ฯลฯ นโยบายสนับสนุนส่วนกลาง ส่งเสริม เครือข่ายวิชาการ/งบประมาณ นวัตกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย เครือข่ายเครือญาติ นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย ผู้ปกครอง โรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่ สนับสนุน สนับสนุน อบต./ ผู้นำท้องถิ่น ภาคธุรกิจ/เอกชน ภูมิปัญญา ภาครัฐ/หน่วยงาน ชุมชนท้องถิ่น ส่งเสริม ระบบเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งยกย่องเชิดชูเกียรติ

อ้างอิงจาก วรากรณ์ สามโกเศศ • 3 ความจริงที่สำคัญยิ่งต่อความสำเร็จของระบบการศึกษา (McKinsey report, 2007) (1) คุณภาพของครู (“The quality of education system can not exceed the quality of its teachers.”) เพราะฉะนั้นต้องหาคนที่เหมาะสมมาเป็นครู (2) พัฒนาครูให้เป็นผู้สอนที่มีประสิทธิภาพ (“The quality of the outcomes of any school system is essentially the sum of the quality of the instruction that its teachers deliver.”) (3) สร้างระบบการศึกษาที่สามารถทำให้เกิดการสอนที่ดีที่สุด เท่าที่เป็นไปได้แก่เด็กทุกคน อ้างอิงจาก วรากรณ์ สามโกเศศ

กระบวนการเรียนการสอน สถาบันครุศึกษา/ศึกษาศาสตร์ 2.ระบบการผลิตครู การผลิตครู การคัดเลือก กระบวนการเรียนการสอน หลักสูตร/ เครือข่ายโรงเรียน/ เครือข่ายหนุนเสริม ครูของครู บรรยากาศ สถาบันครุศึกษา/ศึกษาศาสตร์

3.ระบบการพัฒนาครู(คุณภาพการเรียนรู้ :LLEN)

สภาพปัญหาต่อการพัฒนาครู 1 กระบวนทัศน์แบบ top down รวมศูนย์อำนาจสั่งการแนวดิ่งนี้ยังติดเป็นบุคลิกภาพของครูไป top down กับศิษย์ 2 ครูยุคเก่าส่วนใหญ่มุ่งสอนหนังสือ มากกว่า สอนเด็กให้แสวงหาความรู้ 3 การอบรมเพื่อพัฒนาครูแบบเดิมๆมักเผชิญกับปัญหา “มักง่าย” และ “ฉาบฉวย” 4 ภาวะ “หมดไฟ” และ “ขึ้นสนิม” ของครูอีกทั้งระบบเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งไม่เอื้อต่อการพัฒนาครู 5 การพัฒนาครูขาดจุดเน้นที่ชัดเจนที่เป็นระบบและต่อเนื่อง 6 ครูต้องทำงานหลายหน้าที่มาก ไม่ได้สอนอย่างเดียว 7 ครูรุ่นใหม่มักถูกครอบงำโดยครูรุ่นเก่าที่จะทำให้ครูรุ่นใหม่เข้าสู่วิถีการทำงานแบบเดิม 8 ครูที่ประสบความสำเร็จในการสอน มักเป็นคนที่คิดนอกกรอบ และถูกมองเป็นพวกผิดปกติ สุดท้ายก็จะถูกระบบราชการดูดกลืนจนทำและคิดเหมือนคนอื่นๆ ฯลฯ

3.1 กระบวนทัศน์เดิมของการพัฒนาครู แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ การถ่ายทอดความรู้ Training เน้นถ่ายทอดความรู้นอกสถานที่ -พรากครูออกจากศิษย์ -วิทยากรรู้ ครูไม่รู้ -เหมาโหล ยกเข่ง -วัฒนธรรม Top down -มักง่ายและฉาบฉวย B A จัดที่โรงแรม Out Door จัดที่โรงเรียน School Based D C แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ Learning

3.2กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนาครู การถ่ายทอดความรู้ Training A B เน้นการเรียนรู้ในฐานพื้นที่ -พัฒนาจากฐานความสำเร็จของครู -หนุนเสริม(Enrichment) -แลกเปลี่ยนเรียนรู้(KM) -วงจรเรียนรู้(Team Learning) -เครือข่าย(Network) -เอื้ออำนาจ(Empowerment) จัดที่โรงแรม Out Door จัดที่โรงเรียน School Based D C แสวงหาและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ Learning

3.3 จากครูเพื่อครู สู่ ครูเพื่อศิษย์ ครูเพื่อครู(กู-นาย) ครูเพื่อศิษย์ - สอน,ให้งาน,ตรวจการบ้าน ทดสอบ,ประเมินผล -ทำผลงานในกระดาษ -ทำงานเอาใจนาย -ให้ศิษย์ทำงานเพื่อครูเอง - ร่วมเรียนรู้ ร่วมปฏิบัติ - รักเมตตา - สร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก - บูรณาการบทเรียนกับชีวิต - จิตอาสา ละเลยความรัก ความเข้าใจ ความรู้สึก จินตนาการของเด็ก เป้าหมายอยู่ที่ศิษย์ได้เรียนรู้ พัฒนาศักยภาพ อ้างอิง:สรุปแนวคิดจาก นพ.วิจารณ์ พานิช

“ปัญญา” ของคนต่างหากที่สร้าง “คุณภาพ” “Wisdom, not Budget, Make Quality” เพียง “งบประมาณ” มิได้ทำให้เกิด “คุณภาพ” ได้ “ปัญญา” ของคนต่างหากที่สร้าง “คุณภาพ” Budget always limited But wisdom unlimited “งบประมาณ” มักมีจำกัดเสมอ แต่ที่ไม่จำกัด คือ “ปัญญา” ของเราทุกคน

Albert Einstein

สวัสดี