การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันการทำวิจัย ซ้ำซ้อน 2. ช่วยชี้ว่างานวิจัยที่จะทำ อยู่ที่จุดใด จะช่วย เพิ่มองค์ความรู้ตรงไหน
3. ช่วยให้เกิดความคิดและ ทิศทางการวิจัย - เทคนิคการทำวิจัย - แหล่งข้อมูล - วิธีการศึกษา - การแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นระหว่างวิจัย
4. ช่วยพัฒนาความคิดใน การออกแบบการวิจัย 5. ช่วยให้เกิดแนวคิดใน ปัญหาวิจัย / สมมติฐาน การวิจัย 6. ช่วยให้ข้อมูลพื้นฐาน สำหรับการวิจัย
แง่มุมในการทำ วรรณกรรมปริทัศน์ 1. ศึกษาตนเอง เพิ่มความรู้ ความมั่นใจให้แก่ นักวิจัย 2. ศึกษาเนื้อหาสาระให้เห็น ภาพกว้างของงานวิจัยที่ จะทำ 3. ศึกษาพัฒนาการของ ประเด็นที่จะทำวิจัย
4. ศึกษาในเชิงทฤษฎีว่า เกี่ยวข้องกับประเด็น ปัญหาวิจัยอย่างไร 5. ศึกษาวิธีวิจัยของงานแต่ ละชิ้น 6. ศึกษาบูรณาการเพื่อ สรุปว่า ความรู้ที่มีในขณะ นั้นมีอะไรบ้าง
ประโยชน์ของ วรรณกรรมปริทัศน์ 1. เกิดความคิดในปัญหาที่ จะทำวิจัย 2. ชี้จุดแข็ง จุดอ่อนใน งานวิจัยที่อ่าน 3. บ่งชี้ทฤษฎีที่สามารถ นำมาใช้ในการศึกษา 4. เสนอแนะวิธีการที่จะใช้ ในการศึกษา 5. ช่วยอธิบายเทคนิคการ เก็บข้อมูลและ เครื่องมือที่ใช้
6. ช่วยให้เทคนิคเกี่วกับการ แบ่งประเภทข้อมูล 7. ช่วยชี้แนะการทำตาราง และกราฟ 8. ช่วยแสดงวิธีตีความ ผลการวิจัย 9. แสดงวิธีการเสนอ ผลการวิจัย 10. เสนอแนะแหล่งสำหรับ พิมพ์ผลการวิจัย
แนวทางการอ่าน / บันทึกผลงานวิจัย 1. ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ปีที่ เขียน ( เพื่อการอ้างอิง ) 2. ปัญหาวิจัยและ / หรือ วัตถุประสงค์การวิจัย 3. วิธีการศึกษา 4. ตัวแปรนการศึกษา
5. ข้อมูลและวิธีการเก็บ ข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. ผลการวิจัย ( ข้อ ค้นพบ ) 8. ข้อสรุป