1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ
2 ๑. ที่มา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ. ศ. ๒๕๔๗ กำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการมี หน้าที่ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการภายใน ส่วนราชการ ในเรื่องต่างๆ ตามข้อ ๑๗
3 ๒. ข้อกฎหมาย ( ๒. ๑ ) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ปี ๒๕๔๗ ข้อ ๑๗ วรรค ๑ กำหนดว่า ภายใต้บังคับ ก. ม. และ มติ ครม. หัวหน้าส่วนราชการมีอำนาจ “ ( ๓ ) พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือ สิ่งสาธารณูปโภคอื่นโดยประหยัด เพื่อให้จัดสวัสดิการ ภายในส่วนราชการได้ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการ กำหนด ”
4 ข้อกฎหมาย ( ต่อ ) ( ๒. ๒ ) คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๖ เห็นชอบแนวทางและมาตรการในการ แก้ปัญหา หนี้ค่าสาธารณูปโภคตามที่สำนัก งบประมาณเสนอ เห็นชอบในการให้หัวหน้าส่วนราชการ และ รัฐวิสาหกิจ เข้มงวดกวดขันดูแลการ ใช้สาธารณูปโภคให้ประหยัดและมี ประสิทธิภาพ
5 ข้อกฎหมาย ( ต่อ ) ( ๒. ๓ ) ข้อเสนอสำนักงบประมาณที่ คณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบตามข้อ ๒. ๒ * ให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจฯรีบ ดำเนินการ แยกมิเตอร์หรือเครื่องวัดการใช้ สาธารณูปโภคในส่วนที่เป็นราชการ กับที่มิใช่ในราชการ * ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน ตรวจสอบการใช้สาธารณูปโภคทั้งจาก เงินในงบฯและเงินนอกงบฯ
6 ๓. ๑ ผลสรุปการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรอง เรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๗ พิจารณา ร่างระเบียบ สนร. ในวันที่ ๔ ม. ค. ๔๗ มีดังนี้ ๓. ข้อเท็จจริง * การพิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่งสาธารณูปโภคอื่นโดย ประหยัดนั้นจะทำให้ราชการเสียประโยชน์ * ควรดำเนินการแยกมิเตอร์ส่วนที่ ใช้ในราชการกับที่ไม่ใช้ในราชการออก จากกันให้ชัดเจน
7 ๓. ข้อเท็จจริง ( ต่อ ) ๓. ๒ สำนักงาน ก. พ ได้มีหนังสือ แจ้งยืนยันความเห็นร่างระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ดังนี้ ( ๑ ) การสนับสนุนของรัฐในการจัด สวัสดิการภายในส่วนราชการควรมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาระบบสวัสดิการ ที่ให้ส่วนราชการ ช่วยเหลือตนเองได้
8 ๓. ข้อเท็จจริง ( ต่อ ) ๓. ๒ ( ต่อ ) สำนักงาน ก. พ ได้มี หนังสือแจ้งยืนยันความเห็นร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ดังนี้ ( ๒ ) หากไม่มีข้อกำหนดดังกล่าว ข้าราชการและลูกจ้างของส่วนราชการ ที่อยู่ในภูมิภาคหรือที่อยู่ในส่วนราชการ ขนาดเล็ก จะไม่ได้รับสวัสดิการ ร้านอาหารที่มีคุณภาพดีเนื่องจากไม่มี เงินพอจ่าย
9 ๓. ข้อเท็จจริง ( ต่อ ) ๓. ๒ ( ต่อ ) สำนักงาน ก. พ ได้มี หนังสือแจ้งยืนยันความเห็นร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ดังนี้ ( ๓ ) หากไม่มีข้อกำหนดนี้ การจัดสวัสดิการ บางประเภทเป็นครั้งคราว จะต้องประมาณ การเพื่อแยกค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค ในการจัดสวัสดิการดังกล่าวออกมาจาก ค่าใช้จ่ายของทางราชการทุกครั้ง ซึ่งจะ เพิ่มภาระและค่าใช้จ่ายให้กับกองทุน สวัสดิการ
( ๑ ) กรณีการจัดสวัสดิการเป็นประจำและมี รายได้จากการจัดสวัสดิการนั้น หรืออาจ เรียกเก็บค่าสาธารณูปโภคได้ ให้ส่วนราชการแยกมิเตอร์ออกจากการ ใช้ในราชการ และให้นำเงินกองทุน สวัสดิการมาชำระค่าการใช้ค่า สาธารณูปโภค 10 ๔. สาระของหลักเกณฑ์และเงื่อนไข
11 ( ๒ ) ส่วนราชการที่ตั้งใหม่ภายหลังการ ปฏิรูปและยังไม่มีกองทุนสวัสดิการ หรือ มีเงินกองทุนแต่ไม่เพียงพอที่จะจ่ายค่า สาธารณูปโภคให้หัวหน้าส่วนราชการ พิจารณาให้ใช้สาธารณูปโภคจัด สวัสดิการได้จนกว่าจะมีเงิน กองทุนเพียงพอที่จะจ่าย ทั้งนี้ไม่เกิน ระยะเวลา ๕ ปี นับแต่วันที่จัดตั้งส่วน ราชการดังกล่าว ๔. สาระของหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ( ต่อ )
12 ( ๒ ) กรณีการจัดสวัสดิการเป็นครั้ง คราวหรือเป็นประจำแต่ไม่มี วัตถุประสงค์เพื่อการหารายได้ หรือไม่ สามารถแยกค่าสาธารณูปโภคในการ จัดสวัสดิการหรือหากประมาณการเพื่อ แยกค่าสาธารณูปโภคจะเป็นการเพิ่ม ภาระให้กับ ส่วนราชการจนเกิน สมควร หัวหน้าส่วนราชการอาจ พิจารณาอนุมัติให้ใช้สาธารณูปโภคใน การจัดสวัสดิการได้ ๔. สาระของหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ( ต่อ )