ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ เรื่อง การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้วิธีแผนที่ความคิด (Mind Map) ของนักศึกษาระดับ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ในรายวิชาการพัฒนาเว็บเพจชั้นสูง ชื่อ - สกุลผู้วิจัย : นายทวิช พาธะขัน สังกัดวิทยาลัย : วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ เชียงใหม่ เลขที่ 2 ถ. คชสาร ต. ช้างคลาน อ. เมือง จ. เชียงใหม่ โทร ต่อ 3321

ปัญหาการวิจัย : จากการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาการพัฒนาเว็บเพจชั้นสูง ผู้วิจัยพบปัญหาต่าง ๆ อาทิเช่น ผู้เรียนมีข้อจำกัดเรื่องของเวลาที่เรียน ในช่วงระยะสั้น ๆ ผู้เรียนสับสนในการปฏิบัติตาม ขั้นตอนที่ผู้สอนเขียนอธิบายรายละเอียดไว้ในเอกสาร ประกอบการสอน เป็นเหตุให้ผู้เรียนลดความสนใจใน การปฏิบัติตามในขั้นตอนต่อไป อีกทั้งไม่สามารถ เข้าใจผลการทางานของคำสั่งต่าง ๆ ตามที่เขียน อธิบายไว้ได้อย่างชัดเจน ส่วนการสาธิตผู้เรียนได้ มองเห็นการปฏิบัติจากผู้สอนแล้ว คาดว่าสามารถ ปฏิบัติเองได้ แต่ในการปฏิบัติจริง เกิดปัญหาคือไม่ สามารถทำเองได้ตามที่คาดหวัง ทำให้นักศึกษามี ผลสัมฤทธิ์ทางการต่ำ ผู้สอนจึงเห็นความจำเป็นใน การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น และ ผู้เรียนสามารถเข้าเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเรียนรู้ ด้วยตนเองได้ตลอดเวลา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาให้สูงขึ้นต่อไป

วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ของรูปแบบการเรียนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับนักเรียนชั้นปวส. ปีที่ 2 ใน รายวิชาการพัฒนาเว็บเพจ ชั้นสูง 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาในรายวิชา การพัฒนา เว็บเพจชั้นสูง 3. เพื่อศึกษาความรับผิดชอบต่อการ เรียนของนักศึกษาที่เรียนจากรูปแบบ การเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรายวิชา การพัฒนาเว็บเพจชั้นสูง

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ขั้นการออกแบบเพื่อจัดรูปแบบการเรียนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เหมาะสมในระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 2. ขั้นการพัฒนารูปแบบการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตในระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 กำหนดวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ผู้เรียน ออกแบบเนื้อหา กำหนดกิจกรรมการเรียน การจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียน กำหนดบทบาทผู้สอน การดำเนินการเรียน กิจกรรมเสริมทักษะ ประเมินผลการเรียน ปรับปรุงแก้ไข

3. นำรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ พัฒนาขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การศึกษา ซึ่งมีประสบการณ์ในด้านการเรียนการ สอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตรวจสอบ จำนวน 2 ท่าน เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการ เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ผู้วิจัยได้ พัฒนาขึ้น 4. นำรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ พัฒนาขึ้นไปทดสอบหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 โดยทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษา ระดับชั้นปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชย การเชียงใหม่ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เบื้องต้นในภาคเรียนที่ 2/2556 จำนวน 32 คน

5. ขั้นที่ 3 ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน เพื่อนำผลมาหาประสิทธิภาพ E1/E2 สรุปผลการวิจัย : 1. จากการศึกษาวิจัยเพื่อหา ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตวิชาการพัฒนาเว็บเพจชั้นสูงในครั้งนี้ E1/E2 มีค่าเท่ากับ 89.14/88.10 ซึ่งถือว่าสูงกว่า เกณฑ์ที่กำหนด 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นปวส. ปีที่ 2 โดยการ เรียนจากรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตกับการเรียนแบบปกติพบว่ามี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

3. การศึกษาความรับผิดชอบต่อการเรียนของ นักเรียน ที่เรียนจากรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต พบว่า นักเรียนชั้นปวส. ปีที่ 2 ที่เรียน จากรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มี ความรับผิดชอบต่อการเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีมาก