โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Advertisements

นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
งานวิจัยการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย

ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย การใช้กลวิธีช่วยจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ กรณีศึกษานักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย

ที่มาและความสำคัญของปัญหา ปัญหาที่พบคือนักศึกษาส่วนใหญ่ยังไม่มีทักษะด้านการจำ ทำให้จำคำศัพท์ได้น้อยและส่งผลให้ทักษะด้านอื่นๆทางภาษาอังกฤษไม่ดีเท่าที่ควร จึงได้นำกลวิธีช่วยจำมาใช้ในงานวิจัยครั้งนี้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

นิยามศัพท์เฉพาะ กลวิธีช่วยจำ คือ การวางแผน เทคนิคต่างๆ การจัดวาง และรูปแบบหรือสิ่งที่นำมาใช้ในการคิดวิธีช่วยให้ผู้เรียนจำคำศัพท์จากการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ง่าย การใช้นิ้วมือ การใช้ภาพ การใช้เสียง การใช้บัตรคำ

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ 3. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้คำศัพท์โดยการใช้กลวิธีช่วยจำระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน

คะแนนการประเมินระหว่างเรียน ตารางแสดงผล ตารางแสดงให้เห็นว่าคะแนนรวมจากการประเมินระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 80.59 และคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 78.63 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ก่อนเรียน คะแนนการประเมินระหว่างเรียน หลังเรียน แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 รวม เฉลี่ย 12.52 30.15 27.83 27.38 17.80 103.15 31.45 S.D 2.39 1.75 1.26 1.15 3.61 2.16 ร้อยละ 31.31 75.38 81.84 91.25 74.17 80.59 78.63

ตารางแสดงผล การทดสอบ N ร้อยละ S.D. ทักษะการฟัง 40 7.25 72.50 0.67 ทักษะการพูด 7.58 75.75 0.68 ทักษะการอ่าน 8.42 84.25 0.64 ทักษะการเขียน 8.20 82.00 0.72 ตารางแสดงให้เห็นว่าคะแนนสอบทั้ง 4 ทักษะ ทักษะการฟังได้คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.50 ทักษะการพูดได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 75.75 ทักษะการอ่านได้คะแนนคิดเป็น ร้อยละ 84.25 และทักษะการเขียนได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 82.00  

ตารางแสดงผล ตารางค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีช่วยจำ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 0.6888 ตารางผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้คำศัพท์โดยการใช้กลวิธีช่วยจำระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0 1   กลุ่มตัวอย่าง คะแนนเต็ม คะแนน ร้อยละ E.I. ก่อนเรียน หลังเรียน 40 1,600 501 1,258 31.31 78.63 0.6888 การทดสอบ N S.D. t p ก่อนเรียน 40 12.53 2.40 43.244 .000** หลังเรียน 31.45 2.16

สรุปผลการวิจัย 1. ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 80.59/78.63 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 0.6888 3. นักศึกษาที่เรียนรู้คำศัพท์โดยการใช้กลวิธีช่วยจำ มีคะแนนทุกทักษะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Thank you