คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
Advertisements

โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
บทบาทหน้าที่ของ HR ยุคใหม่
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
กระบวนการดำเนินงาน  ชุมชนมีความสุข สถานะสุขภาพดี - คุณภาพชีวิตดี
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนการดำเนินงานของทีมบริหาร ด้านพัฒนาบุคลากร
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การศึกษาความพึงพอใจของ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
25/07/2006.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
LOGO โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาบัว - สร้างแป้น เรื่องเล่า การดำเนินงานจิต เวช.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
นำเสนอคณะกรรมการบริหาร รพ. เมื่อ 10 มิ.ย.53
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD) บริหารจัดการด้านบุคลากรให้เพียงพอ มีความสามารถเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ส่งเสริมให้บุคลากรมีความพร้อมในการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ส่งเสริมให้บุคลากรมีสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่ ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนาวิชาการ

กระบวนการ การเพิ่มคุณค่าบุคลากร: วัฒนธรรมองค์กร (ค่านิยม, การสื่อสาร, การชื่นชมผู้ที่มีผลงานที่ดี, การประเมินผลการปฏิบัติงาน, P4P) การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ: learning need จากฐานข้อมูลความเสี่ยง, competency gap approach , succession plan ความผูกพันบุคลากร: แบบสอบถาม, การรับฟังและตอบสนองความต้องการ, ปรับปรุงระบบงานโดยนำ IT มาใช้ ขีดความสามารถและความเพียงพอ: ประเมินสมรรถนะเฉพาะและพัฒนา บรรยากาศการทำงาน: บริการและสิทธิประโยชน์ของบุคลากร ตามผลการประเมิน สุขภาพบุคลากร: HPH จัดให้มีการตรวจวัดสมรรถภาพทางกายและตรวจสุขภาพประจำปี

ผลลัพธ์

ความผูกพัน/ความพึงพอใจบุคลากร ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพัน/ความพึงพอใจของบุคลากรรพ.สวนปรุง ค่าตอบแทนและสวัสดิการ โอกาสและความก้าวหน้าทางอาชีพในองค์กร ระบบงาน (ภาระงานของแต่ละหน่วยงาน ระบบคอมพิวเตอร์ของ รพ.) อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน (บางแห่งคับแคบ) -กระบวนการประเมินผลงาน (PMS)อย่างโปร่งใส และให้เพิ่มสวัสดิการแก่กลุ่มลูกจ้างชั่วคราวต่อเนื่อง เช่น เงินเพิ่มค่าครองชีพ -เน้นการรับฟังและการตอบสนองความต้องการบุคลากรให้มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับหัวหน้าหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงาน มีรายงานความคืบหน้าเป็นระยะ -ปรับปรุงระบบงานโดยพัฒนาโปรแกรมที่เพิ่มความสะดวกในการทำงานผ่านทาง intranet -สนับสนุนการมีส่วนร่วมของบุคลากรในงานเทศกาลต่างๆ รวมทั้งเกี่ยวกับกีฬา และออกกำลังกาย -ความท้าทายคือ ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศที่อาจส่งผลให้ความผูกพัน/พึงพอใจ ความสุขของบุคลากรมีแนวโน้มลดลง

ความสุขของบุคลากร ≥ คนทั่วไป(เป้าหมาย>90%)

สมรรถนะด้านแอลกอฮอล์ที่≥ระดับ3 (Experience) (เป้าหมาย >80%) -ปี 2553 พัฒนาสมรรถนะเฉพาะด้านแอลกอฮอล์ของวิชาชีพ ซึ่งมี 3 ด้านคือ ด้านที่1. การดูแลผู้ป่วย ด้านที่2. การสอน* ด้านที่ 3.การวิจัย -สมรรถนะทั้ง3ด้านเป็นโอกาสพัฒนา โดยเฉพาะด้านการวิจัย หลังจากหัวหน้าหน่วยงานประเมินแล้วได้ จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP) ตาม competency gap -สมรรถนะด้านแอลกอฮอล์ของพยาบาลที่มีความต้องการพัฒนาเพิ่มเติม เช่น การดูแลโรคร่วมทางกาย การพยาบาลในระยะถอนพิษสุรา การอบรม MET, CBT การดูแลโรคร่วมทางจิตเวช ทักษะการวิจัย เป็นต้น ซึ่งได้จัดทำแผนและกำลังดำเนินการพัฒนา (*)ด้านที่2. ของพยาบาลคือ การบำบัด

Nurse’s Productivity (target 90-110%) -ภาระงาน (ผู้ป่วยวิกฤต แรกรับ เร่งรัด) ของรพ.จากเดิมที่มีมากเนื่องจาก รพ.รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยจิตเวชใน 13 จังหวัดภาคเหนือ -รพ.สวนปรุงได้ริเริ่มการพัฒนาศักยภาพของรพ.ในชุมชน เป็นเครือข่ายจิตเวชตั้งแต่ปีงบประมาณ 2544 เป็นต้นมา ส่งผลให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลรักษาอยู่ในชุมชนของตนเอง เมื่ออาการทางจิตกำเริบ หรือซับซ้อนรุนแรงจึงค่อยส่งต่อมาที่ รพ.สวนปรุง -ภาระงานที่ลดลง ทำให้รพ.สวนปรุงสามารถเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยได้มากขึ้นในอัตรากำลังเท่าเดิม

อัตราการเพิ่มขึ้นของลูกจ้างชั่วคราว (เป้าหมาย<2%)

ผลการตรวจสุขภาพบุคลากร

บุคลากรที่มี Cholesterol>200mg/dl (ราย)

HR Plan for Excellence Alcohol พัฒนา specific competency (Alcohol) ของทีมสหวิชาชีพ การดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ การสอนและการถ่ายทอดความรู้ การวิจัย พัฒนาผู้นำทางด้านบริหารและวิชาการ (succession plan) พัฒนาความรู้และทักษะด้าน IT ที่สอดคล้องกับระบบ รพ. ตรวจสมรรถภาพทางกายต่อเนื่องและส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (เช่น สวย หล่อ เลือกได้)

ขอบคุณค่ะ