โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
Management Information Systems
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การติดตามประเมินผล ปี 2552
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ชื่อโครงการ.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1 โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1 ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.2552 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2553

หลักการและเหตุผล=Gap Analysis ประเมินภาวะสุขภาพไม่ครบถ้วน ไม่มีการวางแผนการพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร ไม่มีข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล การประเมินผลการพยาบาลบางครั้งไม่สอดคล้องกับปัญหา

การวิเคราะห์ปัญหา (RCA) ระบบสนับสนุน ขาดระบบสนับสนุนการบันทึกพยาบาลอย่างมีคุณภาพ บันทึกทางการพยาบาลไม่มีคุณภาพ การบันทึกโดยใช้กระบวนการพยาบาลใช้เวลามาก ภาระงานมาก ขาดทักษะการเขียนวินิจฉัยการพยาบาล ขาดความรู้ ขาดแรงจูงใจ คน

วัตถุประสงค์ = Purpose 1.เพื่อส่งเสริมทักษะของพยาบาลเกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาลอย่างมีคุณภาพ โดยใช้กระบวนการพยาบาล ประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผลการพยาบาล 2.เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาล เกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาล

วิธีดำเนินงาน=Processes 1.เก็บรวบรวมข้อมูล 2.ประชุมคณะทำงาน 3.วางแผนดำเนินโครงการ 4.ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้

วิธีดำเนินงาน=Processes 4.1ชี้แจงและให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาลอย่างมีคุณภาพ 4.2จัดหาเอกสาร ตำรา ตัวอย่างการเขียนบันทึกทางการพยาบาล

วิธีดำเนินงาน=Processes 4.3จัดทำTemplate แผนการพยาบาลโรคที่พบบ่อยของหอผู้ป่วยพิเศษ1 จำนวน7โรคได้แก่ โรค DM. , HT. CRF. COPD. , C/S (คลอดปกติใช้ตามกลุ่มงานสูติกรรม) ส่วนโรค CVA. และ ACS. ใช้ตามกลุ่มงานอายุรกรรม 4.4นำTemplateมาใช้บันทึกทางการพยาบาล 5.ประเมินผลโดยคณะทำงาน

เกณฑ์การประเมินผล-Performances 1.มีการประเมินภาวะสุขภาพ โดยมีข้อมูลสนับสนุนข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 90% 2.บันทึกปัญหาโดยใช้ข้อวินิจฉัย การพยาบาล 90% 3.มีการวางแผนการพยาบาลเพื่อตอบสนองปัญหาและความต้องการ 90% 4.มีบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของกิจกรรมการพยาบาลตามแผนการพยาบาล 90% 5.มีบันทึกทางการพยาบาลในส่วนของการประเมินผลหลังให้การพยาบาลที่ครบถ้วนตามปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล 90%

ผลการดำเนินโครงการ จากการเก็บข้อมูลตามเกณฑ์การประเมินผลจำนวน 20 ราย ได้ผลดังนี้ 1.มีการประเมินภาวะสุขภาพ โดยมีข้อมูลสนับสนุนข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 89.58% 2.บันทึกปัญหาโดยใช้ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 92.83% 3.มีการวางแผนการพยาบาลเพื่อตอบสนองปัญหาและความต้องการ 92.83%

ผลการดำเนินโครงการ 4.มีบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของกิจกรรมการพยาบาลตามแผนการพยาบาล 92.83% 5.มีบันทึกทางการพยาบาลในส่วนของการประเมินผลหลังให้การพยาบาลที่ครบถ้วนตามปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล 92.83% คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 92.18%