วิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอัตราส่วนและสัดส่วน โดยใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวิเคราะห์ผู้เรียน
ปีการศึกษา 2555 กับ ปีการศึกษา 2556
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากเป็น สถานที่ฝึกการประเมินคุณภาพรอบ สาม ( สมศ.)
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิธีสอนแบบอุปนัย.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
ชื่อหน่วย กราฟของฟังก์ชัน วิชา คณิตศาสตร์ GSP 1 รหัสวิชา ค
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ เรื่อง การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้วิธีแผนที่ความคิด (Mind Map) ของนักศึกษาระดับ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

      วิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอัตราส่วนและสัดส่วน โดยใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส กับการสอนปกติ ของนักเรียนระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา นางสุภาวรัตน์ ภุมมาลี ครูผู้สอน สาขาวิชาสามัญสัมพันธ์(วิทย์-คณิต) วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา 

    บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอัตราส่วนและสัดส่วน โดยใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ7 ส กับการสอนปกติ ของนักเรียน ระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้คือ นักเรียนระดับปวช.ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 36 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ชนิดได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ การหาค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

  ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา จากสภาพปัจจุบันและปัญหาการเรียนการสอนที่ผ่านมา ผู้วิจัยซึ่งเป็นครูผู้สอนคณิตศาสตร์ พบว่าที่ผ่านมาผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่ำ ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส มาสอนแทนจากเดิมที่ใช้การสอนแบบปกติ เพื่อทดลองว่าการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส จะสามารถแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชาคณิตศาสตร์ให้สูงขึ้นได้

  วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง อัตราส่วน และสัดส่วนระหว่างการสอนโดยใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส กับ การสอนปกติ ของนักเรียนระดับ ปวช.ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา

กรอบแนวคิดการวิจัย เนื้อหาเรื่อง อัตราส่วน เนื้อหาเรื่อง สัดส่วน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทักษะ 7 ส ขั้นนำ (สงสัย,สังเกต) ขั้นสอน (สัมผัส,สำรวจ,สืบค้น) ขั้นฝึกทักษะ (สั่งสม) ขั้นสรุป (สรุปผล) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ การสอนแบบปกติ 1) ขั้นนำ 2) ขั้นสอน 3) ขั้นสรุป เนื้อหาเรื่อง อัตราส่วน เนื้อหาเรื่อง สัดส่วน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน   กรอบแนวคิดการวิจัย

วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส   วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส วิธีการสอนคณิตศาสตร์ด้วยวิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส เป็นการนำทฤษฎีการสอนของ เจอร์รูม บรูเนอร์(Jerome Bluner) ผู้สนับสนุนวิธีการสอนแบบค้นพบและทฤษฎีการเรียนรู้โดยการกระทำของ จอห์น ดิวอี้(John Dewey) โดยนำวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 แบบมาประยุกต์ให้เป็นวิธีการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนแสวงหาคำตอบ และการสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเองและสามารถนำทักษะกระบวนการไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

การสอนโดยใช้ทักษะ/กระบวนการสอนตามปกติ ผลการวิจัย วิธีการสอน N คะแนนก่อนการสอน คะแนนหลังการสอน x S.D. การสอนแบบค้นพบ โดยใช้ทักษะ 7 ส 36 6.41 2.52 9.16 4.12 การสอนโดยใช้ทักษะ/กระบวนการสอนตามปกติ 6.27 2.89 8.86 5.01

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทักษะ 7 ส มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าการเรียนโดยใช้วิธีสอนตามปกติ