การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อ ส่งเสริมแรงจูงใจ ต่อการเรียนวิชา ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ เรื่อง การคำนวณหาค่าความเค้นและความเครียดของวัสดุ โดยการใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักศึกษาระดับประกาศ-
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การสร้างแรงจูงใจในการส่งงาน โดยใช้การเสริมแรงด้วยการใช้เบี้ยอัตถกร สะสมคะแนนของผู้เรียนระดับ ปวช.1/1 แผนกการโรงแรม โดย ครูศิริมา เที่ยงสาย.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
รายงานการวิจัย เรื่อง
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน งานวิจัยเรื่อง การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน วิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี รหัส วิชา 3000-1307 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง ชั้น ปวส.1 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม ผู้วิจัย นาย สุรศักดิ์ ว่องวิทย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโกบ้านโป่ง

ปัญหาการวิจัย ผู้วิจัยได้พบว่าในปีที่ผ่านมานักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทยไม่ดีนัก จากข้อมูล เบื้องต้นทราบว่านักศึกษาขาดความสนใจ ชอบคุยเล่นและไม่ มีสมาธิกับบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องเรียน ผู้วิจัยจึงหาวิธี แก้ปัญหาโดยการศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อ การเรียนวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อให้นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ป.ว.ส. 1 ) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง มี แรงจูงใจในการเรียนวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีให้มี ผลการเรียนที่ดีขึ้น 2. เพื่อให้เกิดบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนในชั้นเรียน

นักศึกษา ปวส.1 สาขาเทคนิคอุตสาหกรรม กรอบแนวคิดงานวิจัย ตัวแปรต้น นักศึกษา ปวส.1 สาขาเทคนิคอุตสาหกรรม   ตัวแปรตาม 1. แรงจูงใจภายนอกการได้รับคำชมเชย การได้รับการยอมรับการได้รับรางวัล แรงจูงใจภายในความสนใจความ ตั้งใจและความพึงพอใจ

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ป.ว.ส. 1 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่งภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 สาขาเทคนิคอุตสาหกรรมจำนวน 28 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นกลุ่มเดียวกับ ประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียนวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีโดย การใช้เครื่องมือแบบตารางบันทึกคะแนนกิจกรรมพิเศษ ( ผลงาน/ชิ้นงาน ) โดยใช้ เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคและการหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้โปรแกมสำเร็จรูป

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยของคะแนนกิจกรรมที่ 1 อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับที่ คะแนน ( X ) คะแนนเฉลี่ย ( ) 1 16 4.00 2 14 3.50 3 15 3.75 4 - 28 รวม 104 ผลรวมของคะแนนเฉลี่ยสะสม = 104 ผลคะแนนเฉลี่ยของห้อง = 3.71

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยของคะแนนกิจกรรมที่ 2 สิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต ลำดับที่ คะแนน ( X ) คะแนนเฉลี่ย ( ) 1 15 3.75 2 14 3.50 3 16 4.00 4 - 28 รวม 104 ผลรวมของคะแนนเฉลี่ยสะสม = 104 ผลคะแนนเฉลี่ยของห้อง = 3.71

สรุปผลการวิจัยพบว่า 1. จากกิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจที่มอบให้นักศึกษาทำผลงาน/ชิ้นงานโดยใช้เกณฑ์การประเมินจากองค์ประกอบที่ประเมินด้านภาษา/ สื่อ ตัวอย่างพบว่าคะแนนสูงสุดระดับ 3.75 คะแนนต่ำสุด 3.50 ระดับคะแนนเฉลี่ยของห้องอยู่ในระดับ 3.71 พบว่าผลงาน/ชิ้นงานอยู่ในระดับดี 2. จากการสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมพิเศษกิจกรรมที่ 1เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้เทคโนโลยีพบว่าการทำงานที่ได้รับมอบหมายอยู่ในระดับดี มีความรับผิดชอบทำงานตรงเวลากิจกรรมที่ 2 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิตพบว่าการทำงานที่ได้รับมอบหมายอยู่ในระดับดี มีความรับผิดชอบทำงานตรงเวลา มีความพอใจที่ดีก่อให้เกิดบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนในชั้นเรียน

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ครูผู้สอนสามารถนำเทคนิคของการส่งเสริมแรงจูงใจโดยการ นำกิจกรรมพิเศษมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอนในวิชาอื่น ๆ ได้และเป็นการสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน 2. ในการวิจัยครั้งต่อไปถ้าต้องการศึกษากับกลุ่มประชากรที่ซับซ้อนกว่านี้ เช่นนักเรียนปวช.ระดับพานิชการหรือระดับช่างอุตสาหกรรมที่มีความหลายหลายของกลุ่มประชากร การพัฒนาค่าสถิติอี่น ๆ เพิ่มเติมเพื่อให้การทำการวิจัยมีความผิดพลาดน้อยที่สุด

ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการที่ผู้วิจัยได้ใช้กิจกรรมพิเศษมาจัดการเรียนการสอนทำให้เกิดผลกระทบคือ นักศึกษามีความสนใจในการศึกษาและเรียนรู้วิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีมากขึ้น โดยได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองและสามารถแบ่งปันให้กลุ่มได้เรียนรู้ด้วย ผลกระทบอีกประการหนึ่งที่ผู้วิจัยประสบคือครูผู้สอนได้พยายามศึกษาเทคนิคการสอนแบบใหม่ ๆ เทื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น