วิทยาการสารสนเทศทางสุขภาพ (สศชส 404) Health Information Sciences

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

Knowledge Management (KM)
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
บูรณาการการพัฒนาคุณภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Knowledge Management (KM)
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
“Hazard Identification and Risk Assessment” การประเมินและการจัดการความเสี่ยง ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข นพ.สุรศักดิ์ เกษมศิริ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
บทบาทและปัญหา เทคโนโลยีในประเทศไทย Roles and Problems of Technology in Thailand ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
Information Technology : IT
Information communication & Technology C31102 ICT2.
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การส่งเสริมสุขภาพกายและโภชนาการ
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การส่งเสริมสุขภาพกาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาการสารสนเทศทางสุขภาพ (สศชส 404) Health Information Sciences รองศาสตราจารย์เพียงจันทร์ โรจนวิภาต ภาควิชาชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล “วิชา เรียนให้เกิดความซาบซึ้งสามารถเอาไปศึกษาต่อได้ด้วยตนเอง”

วิทยาการสารสนเทศทางสุขภาพ (สศชส 404) Health Information Sciences : องค์ความรู้ที่เป็นสากล Technology – มีบทบาททางสร้างดุลยภาพใหม่ของวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้สิ่งต่างๆ ง่ายขึ้น

HEALTH (WHO 1999) สุขภาวะ ประเทศไทย Health is a state of complete physical, mental, social (Spiritual) will being not merely the absence of disease or infirmity. ประเทศไทย Spiritual ไว้ในคำนิยามของ health ด้วย

Spiritual well - being ความรู้สึกของบุคคล พฤติกรรมของบุคคล ที่แสดงออกบนพื้นฐานคุณค่าแห่งชีวิต เป็นความรู้สึกถึงสิ่งดีๆ ความเคารพต่อธรรมชาติ สันโดษ เรียบง่าย

Health is a fundamental human right without distinction of race, religion political belief, economic or social condition.

Individual Health Status ENVIRONMENT (31%) Genetics 16% I.H.S Behaviour -risk Individual Health Status Health Service System (coverage of service) Behaviour & H.S.S  53%

ภาวะสุขภาพของแต่ละคน (I.H.S) ดูจาก โภชนาการ ความสามารถในการควบคุมความเครียด สมรรถภาพทางกายดี รักสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบสุขภาพตนเองดี

Health (Dr.Dorn) Free from any defect or disease Having known congenital defects or disease which cause no current disability Latent or incipient disease usually unknown to person affected ex. early T.B Sick or ill

Spectrum of health Positive health Better health Freedom from sickness Unrecognized sickness Mild sickness Severe sickness death

Health disease spectrum Chronic ill disable Healthy --- latent - appear - taken ill recover healthy death : - cause of death - age at death cause of death  mass of population Morbidity  severity  duration

Healthy person Unit in population - family - society - comnunity - world + ve sign - neg sign (healthy) (ill) 90% 10%

Determination of health nutrition survey – questionnaire - anthropometric measure (ht – wt index) - skin fold thickness Environmental & Occupational Hazard มาจาก technology ทำให้เกิด pollution air, water, soil, sea and land

การได้มาซึ่ง life style - consuming extream things - excess calcories - no exercise การได้มาซึ่ง life style - สื่อ - เพื่อน - สังคมยอมรับ

Population size structure Scientific approach endemic strategies inovation

Data and Information Data (datum Lat.) = something that is given Information = relative to the level of knowledge experience and skill. Data ใช้กับ source and material Information ใช้กับ understanable และ usable material. บางกรณี data เป็น information ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวนการใดๆ เลยก็ได้

Information Science or Informatics. Data that has been processed into a form meaning to recipients. Science = knowledge Information Science or Informatics. Science of information มักรวมอยู่ใน Computer science และ computer technology ที่เกี่ยวข้องกับ database, software engineering

Information Science เกี่ยวข้องกับ Structure, creation management Storage, retrieval, dissemination and fromfer of information. Application of information in organization.

System Data base เก็บรวบรวมข้อมูลได้มาก A set of resources organized for a common purpose. Data base เก็บรวบรวมข้อมูลได้มาก ขยายฐานได้ โดยไม่กระทบกระเทือน program ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ลดความซ้ำซ้อน

Information technology หมายถึง Technology ด้าน computer ระบบฐานข้อมูล ระบบประยุกต์สารสนเทศต่างๆ การสื่อสาร โทรคมนาคม และระบบอื่นๆ ที่เกี่ยยวข้องกับกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างสารสนเทศ การนำสารสนเทศไปใช้

ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง เพื่อการจัดการ เพื่อการปฏิบัติการ เช่น ระบบบัญชี พัสดุ งานบุคคล ต้องการข้อมูลภายนอกประกอบการตัดสินใจ ต้องนำวิชาสถิติเข้าไปผนวกเป็นเครื่องมือ สารสนเทศ : เป็นข้อความที่ประมวลได้จากข้อมูลที่เกี่ยวข้องออกมาเป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์กับผู้ใช้นั้นๆ สารสนเทศ มีลักษณะอ้างอิงกับผู้ใช้

การทำงานทุกอย่างต้องต่อเนื่อง มีระบบ ต้องมี good information support ต้องพิจารณา potential users และ information ที่ได้ประโยชน์ คุณภาพของ ข้อมูล ขึ้นกับ sources instrument processing + analysis  information

Information is vital Information system is built for the purpose of organizing the systematically capture of basic data and their appropriate processing gave something meaningful.

Feed back of information Policy Usefulness Prevention precaution Improvement of methodology Evaluation of programme.

การตัดสินใจ สถิติข้อมูล  ความรู้ประสบการณ์ในอดีต ลักษณะอุปนิสัยใจคอ สถิติข้อมูล  ความรู้ประสบการณ์ในอดีต ลักษณะอุปนิสัยใจคอ ค่านิยม, ทัศนคติ ศูนย์ควบคุมสั่งงานวิเคราะห์ปัญหา จัดลำดับความสำคัญ ทางเลือกที่ดีที่สุด

Study : Population growth Population structure Population dynamic Economic situation Social – political situation Healthy city

สร้างสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนความสามารถเฉพาะทาง เฉพาะตัว Policy นโยบาย healthy public - สูบบุหรี่ - alcohol drinks - สวนสาธารณะ สร้างสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนความสามารถเฉพาะทาง เฉพาะตัว การกระจายของการบริการสุขภาพ

ลักษณะ นโยบายต้องกระทำเพื่อพื้นฐานของการมีสุขภาพดี ต้องเกิดขึ้นกับทุกคนเท่าเทียมกัน ต้องมีความต่อเนื่อง ไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม

ดัชนีสุขภาพเชิงบวก (Positive health index) กาย : พลานามัย สมรรถนะทางกาย พฤติกรรมสร้างสุขภาพ จิตใจ : I.Q, E.Q สังคม : Healthy city ชุมชนเข้มแข็ง นโยบายเอื้อต่อสุขภาพ จิตวิญญาณ : ความเท่าเทียมกันบนพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ ความเพียงพอในความต้องการ ความเอื้ออาทรต่อผู้อื่น ความสมานฉันท์ในสังคม ความเคารพในสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมต่างๆ

ดัชนีสุขภาพเชิงลบ กาย : อัตราป่วย ตาย พิการ พฤติกรรมทำลายสุขภาพ จิตใจ : อัตราโรคจิต ปัญญาอ่อน การฆ่าตัวตาย สังคม : ความรุนแรง อาชญากรรม การสูญเสียจากสิ่งแวดล้อม อาชีพ จิตวิญญาณ : ความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้ (โรคอันเนื่องมาจากกิเลสต่างๆ) ความขัดแย้งในสังคม ความไม่เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม