Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
ความหมายของการวางแผน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
น.ส. บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
หลักการและเหตุผล. โครงการลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยคลัง งานคลังและพัสดุ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Information Technology
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การใช้งานและพัฒนาระบบ
และการนำไปใช้ประโยชน์
Budgeting System.
Assessment and Evaluation System
หลักการเขียนโครงการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับกรม
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ นายธาดา สังคะฤก นายธีรยุทธ สินล้าน

Why build this system ? เพื่อพัฒนาระบบงานให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งได้รวบรวมเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ของกองแผนงาน และเอกสารจากกองแผนงาน โดยนำเอาข้อผิดพลาดจากระบบเดิมมาวิเคราะห์หาข้อเสีย และข้อดีต่าง ๆ

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบงาน เพื่อลดการทำงานการเก็บข้อมูลแบบ Manual มาเก็บข้อมูบด้วยระบบงานคอมพิวเตอร์ เพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน โดยจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความคล่องตัวมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ้น เพื่อให้มีความคล่องตัวสะดวกในการจัดทำรายงาน และเสนอรายงานตามที่ต้องการได้ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการตัดสินใจได้

การจัดแบ่งองค์กรของมหาวิทยาลัย

ระดับมหาวิทยาลัย ในการบริหารงบประมาณ มีหน้าที่รับผิดชอบภาระกิจ 3 ด้าน คือ การวางแผน สำนักอธิการบดี โดยกองแผนงาน การดำเนินงานตามแผน สำนักอธิการบดี โดยกองคลัง การติดตามประเมินผล สำนักอธิการบดี โดยกองแผนงาน

ระดับคณะ ศูนย์ สถาบัน สำนัก มอบอำนาจจากอธิการบดีที่กระจายอำนาจการบริหารจัดการไปยังคณะ ศูนย์ สถาบัน สำนัก ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของรองคณบดี 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวางแผนและพัฒนา ภาระหน้าที่รับผิดชอบ งานนโยบายและแผนงาน งานคลังและพัสดุ

การจัดแบ่งองค์กรของหน่วยงาน

ผลการศึกษาระบบวางแผนงบประมาณ เป็นระบบที่เอื้อประโยชน์ในการจัดทำคำขอตั้งงบประมาณประจำปี โดยแบ่งการดำเนินงานของระบบวางแผนงบประมาณ ที่รับผิดชอบโดยกองแผนงาน สำนักอธิการบดี ดังนี้ การจัดทำแผนระยะยาว การจัดทำแผนระยะกลาง หรือแผนยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนระยะสั้น หรือแผนปฏิบติการ การรวบรวมและจัดทำคำขอตั้งงบประมาณประจำปี การจัดทำแผนปฏิบัติการ , การจัดทำแผนการใช้เงิน และการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง

ปัญหาที่พบ และข้อเสนอแนะ ไม่มีฐานข้อมูลในการเก็บข้อมูลทำแผนที่ดี ทำให้ต้องทำงานซ้ำซ้อน ข้อเสนอแนะ : จัดทำระบบใหม่ให้มีการเก็บข้อมูลที่เหมาะสม ตามงานการวางแผน ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ตรงตามความต้องการของงาน ไม่มีระบบการเชื่อมโยงข้อมูลกับคณะ/หน่วยงาน ให้คณะ/หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน ให้คณะ/หน่วยงาน มีการรับ/ส่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกันผ่านคอมพิวเตอร์

ความต้องการของผู้ใช้ระบบ ให้มีฐานข้อมูลในการจัดเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบ ระเบียบ และสามารถนำข้อมูลที่จัดเก็บไปใช้ต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ฐานข้อมูลที่จัดเก็บข้อมูล สามารถเชื่อมโยงกับข้อมูลการวางแผนของคณะ/หน่วยงานได้ สามารถจัดพิมพ์รายงานการวางแผนได้ตามต้องการ และรวดเร็ว ข้อมูลที่จัดเก็บต้อง นำไปใช้ต่อในการติดตามและประเมินผลได้

ผลกระทบ ทำให้ทุกๆฝ่ายมีทิศทางในการทำงานเพราะได้มีการวางแผนก่อนแล้ว อันจะทำให้มีเป้าหมาย หรือผลงานที่ชัดเจนเกิดขึ้น แต่ทั้งนี้การที่จะบรรลุเป้าหมาย หรือเกิดผลงานได้ตามที่ตั้งเป้าไว้นั้นระบบควรจะให้ความสำคัญทั้งกับเป้าหมาย และวิธีการในการปฏิบัติ โดยควรคำนึงถึงประสิทธิภาพของผู้ปฏิบัติงานด้วย การตั้งเป้าหมายควรอยู่บนพื้นฐานของหลักการและเหตุผล ต้องมีการฝึกอบรมบุคลากรให้เข้าใจถึงประโยชน์ในการนำระบบงานใหม่เข้ามาใช้งาน