การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแกะสลักผักและผลไม้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการโรงแรม นางสาวณิชาพิชญ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
โดย นางสาวจิตรอุษา อ่องเอี่ยม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี อึ้งเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

ปัญหาการวิจัย นักเรียนขาดทักษะความชำนาญ ในการนำผักผลไม้มาแกะสลัก ให้สวยงามตามแบบ ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูล และสอบถามปัญหาจาก เรียน พบว่าปัญหาเกิดจากการที่นักศึกษาจับมีดไม่ถูกต้อง ขาดความ เข้าใจในขั้นตอนของการแกะ สลัก ทำให้คะแนนการปฏิบัติงาน แกะสลักไม่ดี ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแกะสลักผัก และผลไม้ต่ำจึงต้องมีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้ของ นักศึกษา จะพัฒนานักเรียนที่ขาดทักษะจำนวน 10 คน โดยจะทำการลง มือปฏิบัติก่อนและหลังเรียนเพื่อพัฒนาทักษะให้สูงขึ้น

ผังสรุปสำคัญ ประชากรเป้าหมาย : นักเรียนระดับ ปวช.2/9 จำนวน 10 คน สาขาการโรงแรม ที่ ลงทะเบียนเรียนวิชาการแกะสลักผักและผลไม้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ตัวแปรที่เกี่ยวข้องในงานวิจัย ตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกัน ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ระดับคะแนนการประเมินผลงานของนักศึกษาการแกะสลัก ก่อนการเรียน รายการประเมิน x¯ แปลผล ความสวยงาม 2.8 พอใจปานกลาง ความประณีต 2.1 พอใจน้อย ความถูกต้องของลาย ความสะอาด 3.7 การจับมีด 3 การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม 3.3 ภาพรวมของชิ้นงาน 2.9 จากตารางการประเมินซึ่งพบได้ว่านักศึกษาที่ได้รับการเรียนรู้ก่อนการเรียนจะมีระดับค่าเฉลี่ย ดังนี้ ความสะอาด คะแนนเฉลี่ย 3.7 การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย 3.3 การจับมีด คะแนนเฉลี่ย 3 ภาพรวมของชิ้นงาน คะแนนเฉลี่ย 2.9 ความสวยงาม และความถูกต้องของลาย คะแนนเฉลี่ย 2.8 และความประณีต คะแนนเฉลี่ย 2.1

ระดับคะแนนการประเมินผลงานของนักศึกษาการแกะสลัก หลังการเรียน รายการประเมิน x¯ แปลผล ความสวยงาม 4.2 พอใจมาก ความประณีต 4 ความถูกต้องของลาย ความสะอาด 4.1 การจับมีด 3.7 การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม 4.5 พอใจมากที่สุด ภาพรวมของชิ้นงาน จากตารางการประเมินหลังการเรียนซึ่งพบได้ว่านักศึกษาที่ได้รับการเรียนรู้ก่อนการเรียนจะมีระดับค่าเฉลี่ย ดังนี้ การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม และภาพรวมของชิ้นงาน คะแนนเฉลี่ย 4.5 ความสวยงาม และ ความถูกต้องของลาย คะแนนเฉลี่ย 4.2 ความสะอาดคะแนนเฉลี่ย 4.1 ความประณีต คะแนนเฉลี่ย 4 และ การจับมีด คะแนนเฉลี่ย 3.7 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ยก่อนการเรียนของนักศึกษา แสดงได้ว่านักศึกษามีการพัฒนาอย่างดีขึ้น

สรุปผลการวิจัย จากการที่ทำใบประเมินผลก่อนการเรียนการสอนวิชาการแกะสลักผักและผลไม้ซึ่ง จะพบได้ว่านักศึกษามีการพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างดีขึ้นและผลงานที่นักศึกษาแกะ ออกมานั้นเป็นที่น่าภูมิใจเพราะนักศึกษามีการแกะสลักได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นและมี คุณภาพมากกว่าก่อนการเรียนและนักศึกษายังสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดยัง บุคคลอื่นและสามารถนำไปประกอบวิชาชีพได้อีกด้วย ซึ่งจะสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการประเมินของนักศึกษาหลังการเรียนมีคะแนนที่สูงขึ้นกว่าก่อนการเรียน 2. นักศึกษามีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างดีขึ้น

การเรียนการสอนแบบร่วมมือกันของนักศึกษา ภาพประกอบการวิจัย การเรียนการสอนแบบร่วมมือกันของนักศึกษา

แบบร่วมมือกัน ผลงานก่อนการร่วมมือกัน

ผลงานหลังจากที่ร่วมมือกัน