วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.

การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การขาย1 โดยสื่อการสอน E-book ประเภทผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 จรรยาพร ขวดแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ปัญหาการวิจัย วิชาการขาย1 มีเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับประเภทผลิตภัณฑ์ ซึ่งผู้สอนมีแนวการสอนแบบการบรรยายประกอบสื่อ Power Point ซึ่งเป็นรูปแบบการสอนแบบเดิม อาจทำให้นักเรียนไม่สนใจเนื้อหาในการเรียน อีกทั้งกลุ่มนักเรียนที่มีเหตุจำเป็นไม่สามารถมาเรียนได้ตามปกติในคาบเรียน สามารถเรียนรู้เนื้อหาโดยผ่านสื่อการสอนรูปแบบ E-book ได้ตามความสะดวก

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อ E-book วิชาการขาย1 ตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย1 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อสื่อการ สอนรูปแบบ E-bookวิชาการขาย1

ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่าย (E1/E2) เท่ากับ 82.80/ 85.57 ตารางที่1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของบทเรียนผ่านสื่อ E–book ประเภทผลิตภัณฑ์ วิชาการขาย1 ตามเกณฑ์ 80 / 80 คะแนน คะแนน เต็ม X S.D. ร้อยละ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 30 11.15 7.55 82.80 ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E2) 29.94 1.99 85.57 ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่าย (E1/E2) เท่ากับ 82.80/ 85.57 จากตารางที่1 พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนจากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน (E1) คิดเป็นร้อยละ 82.80 และคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน (E2) คิดเป็นร้อยละ 85.57 แสดงว่าบทเรียนบนเครือข่ายที่ผู้ศึกษาค้นคว้าขึ้น มีประสิทธิภาพของกระบวนการ(E1) คิดเป็นร้อยละ 82.80 และประสิทธิภาพของกระบวนการ ( E2 ) คิดเป็นร้อยละ 85.57

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่2 ผลตารางความพึงพอใจสื่อการสอน E – book ประเภทผลิตภัณฑ์ วิชาการขาย 1 รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความพึงพอใจ 1.การเรียนด้วยสื่อการสอน E–book ทำให้ข้าพเจ้าได้รับเนื้อหาความรู้ความเข้าใจในบทเรียน 3.94 .94 มาก 2.สื่อการสอน E–book ทำให้เข้าใจบทเรียนดีขึ้น 4.00 .00 3.สามารถเลือกศึกษาเฉพาะบทเรียนที่ต้องการศึกษาได้อย่างอิสระ .32 4.การใช้สื่อการสอน E–book ช่วยให้ผลการเรียนดีขึ้น 4.38 .54 5.ลักษณะสื่อการสอน E–book ทำให้อยากเรียนในเรื่องยาก .22

ตารางที่2 (ต่อ) ผลตารางความพึงพอใจสื่อการสอน E – book ประเภทผลิตภัณฑ์ วิชาการขาย 4.07 .26 มาก 7.พึงพอใจเนื้อหาได้ลึกซึ้งและครอบคลุมมากขึ้น 4.41 .49 8. สื่อการสอน E–book ช่วยให้การเรียนเป็นไปอย่างเหมาะสมตามระดับความสามารถ 4.02 .16 9.พึงพอใจต่อการรับผิดชอบการเรียนรู้ผ่านสื่อการสอน E–book ด้วยตนเอง 3.58 10.อยากเรียนด้วยสื่อการสอน E–book อีก 4.00 .00 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวม .74 จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ระดับมาก = 4.02 ผู้เรียนมีความพึงพอใจในเนื้อหาได้ลึกซึ้งและครอบคลุมมากขึ้น = 4.41 (คะแนนมากสุด) และ พึงพอใจต่อการับผิดชอบการเรียนรู้ผ่านสื่อ E-book ด้วยตนเอง = 3.58 (คะแนนน้อยสุด)

สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยค้นคว้าเพื่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การขาย1 โดยสื่อการสอน E-book ประเภทผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1สามารถสรุปผลการศึกษาค้นคว้า ได้ดังนี้ 1. การสร้างสื่อการเรียนการสอนโดยใช้ E-book วิชา การขาย1 ประเภทผลิตภัณฑ์ มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.57 / 82.80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังสื่อการสอน E- book รายวิชา การขาย1 ประเภทผลิตภัณฑ์ พบว่านักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนสูงกว่าค่าเฉลี่ยก่อนเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยสื่อ E- book อยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวมและรายข้อแสดงว่าบทเรียนบนเครือข่ายมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80

ขอบคุณค่ะ