การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
แนวทางการกำหนดกรอบอัตรากำลัง 4 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
นโยบายจ่ายค่าตอบแทนพิเศษระบบใหม่ Pay for Performance ( P4 P )
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
งบประมาณ แผ่นดิน เงินรายได้ แหล่งทุนภายนอก.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ เลขากลุ่ม รศ.สายนที ปรารถนาผล ผู้ประสานงานกลุ่ม นางเทพพร สุคำวัง 1 / 10

การกำหนดค่าตอบแทนเมื่อปฏิบัติงาน เกินภาระงานขั้นต่ำ 1.คณะเดียวกันควรมีแนวทางเดียวกันในการกำหนดภาระ งานขั้นต่ำ 2.เกณฑ์ภาระงานขั้นต่ำของแต่ละคณะ ไม่จำเป็นต้อง เหมือนกัน 3.มองแยกกลุ่ม : วิทย์-สุขภาพ, วิทย์-เทคโน, มนุษย์-สังคม 4.ควรกำหนดเป็นเกณฑ์ภาระงานขั้นสูง 5.คณะที่มีลักษณะวิชาชีพคล้ายกันควรมีภาพของภาระงาน ขั้นต่ำที่คล้ายคลึงกัน 6.ในแต่ละส่วนงาน ควรเปิดให้มี diversity เพราะ อาจารย์/บุคลากร มีความถนัดที่แตกต่างกัน (ควรให้มี การเลื่อนไหลของสัดส่วนภาระงานได้ เช่น สอนน้อย วิจัย มาก แต่ load งานรวม>35 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2 / 10

ค่าตอบแทนปฏิบัติงานเกินภาระขั้นต่ำต้องไม่เกิน 30% ของรายได้ในปีนั้น 1.กลุ่มมนุษย์-สังคม อาจมีปัญหา เนื่องจากเงินรายได้ของ คณะส่วนใหญ่เป็นค่าตอบแทนบุคลากร ในขณะที่ กลุ่ม วิทย์-สุขภาพ/ วิทย์-เทคโน ใช้ไปกับเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ 2.ข้อควรระวัง ต้องไม่ใช้เงินดังกล่าวมาจ่ายให้ผู้บริหาร ซึ่ง มีเงินประจำตำแหน่งบริหารสองเท่าอยู่แล้ว 3.ไม่เห็นด้วยกับการคูณ Academic Factor (AF) ตาม ตำแหน่งวิชาการ เพราะก่อให้เกิดความแตกแยกในการ ทำงาน แต่ขอให้ใช้ “คุณภาพในการทำงาน” เป็นตัวคูณ เหมาะสมกว่า 4.กลุ่มนักวิจัย/สายปฏิบัติการ ควรจะใช้แนวปฏิบัติเดียวกับ กลุ่ม อ. 3/ 10

ค่าตอบแทนเกินภาระงานให้จ่ายเป็นรายเดือน ที่ประชุมทำความเข้าใจร่วมกันใน 1.4 ขึ้นเงินเพิ่มค่าตอบแทน เกินภาระงาน (เอกสารแนบ 5) แท่งอาจารย์ ปี 1-3 เงิน ค่าตอบแทนเพิ่มขึ้น และลดลงในปี 4-5 เพราะไม่ขอกำหนด ตำแหน่งวิชาการที่สูงขึ้น แต่แท่ง ผศ. ทำไมเกิน 5 ปี แล้ว ค่าตอบแทนยังคงสูงขึ้น 3.1 สัดส่วนของค่าตอบแทนควรเป็นอย่างไร เงิน 10% ที่ให้กองทุนพัฒนาภาควิชาน้อยเกินไป เพราะ บุคลากรทำงานได้ดี ส่วนหนึ่งมาจากชื่อเสียงของภาควิชา ดังนั้น น่าจะลดสัดส่วนของผู้ปฎิบัติงาน 80% มาให้ภาควิชา มากขึ้น กองทุนพัฒนา อ. 10% ที่จะให้นำไปไว้ในคณะ น่าจะให้ ภาควิชาดำเนินการจัดสรรกันเองจะเหมาะสมกว่า การวางเม็ดเงินในแต่แท่ง ควรคำนึงถึงความสามารถ / ข้อจำกัดของแต่ละคณะในการหารายได้ 4 / 10

จากนโยบายค่าตอบแทนเกินภาระงาน มีความคิดได้ 2 แนวทาง 1.ทุกคนหาภาระงานมากๆ เพื่อให้ได้ค่าตอบแทน เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจไม่ยุติธรรมในการแบ่งภาระงาน จากหัวหน้างานได้ 2.ควรให้ อ. ที่มีคุณวุฒิสูงๆ ไปพัฒนางานด้านอื่น แทนที่จะให้รับภาระงานมากๆ โดยจ้าง TA / RA มาคุมปฏิบัติการแทน 5 / 10

มช. ควรมีแผนในการพัฒนาคณะเรื่องการหารายได้ เพราะคณะจะมีค่าใช้จ่ายจำนวนมากจากเงินเดือน อาจารย์ และค่าตอบแทนเกินภาระงานรวมทั้งเงิน ประจำตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ที่เป็นพนักงาน หาก มช. ให้การสอนภาคฤดูร้อนถือว่าเป็นค่าตอบแทน เกินภาระงาน บุคลากรผู้ปฏิบัติงานจะต้องนำเงิน ค่าตอบแทนดังกล่าวมาจัดสรรเป็น 3 ส่วน ให้กับ ผู้ปฎิบัติ/กองทุนพัฒนาภาควิชา/กองทุนพัฒนา อาจารย์หรือไม่ เสนอแนะให้ มช. พิจารณาถึงความสามารถในการจ่าย ค่าตอบแทนดังกล่าว ก่อนที่จะมีการออกระเบียบเรื่อง ดังกล่าว 6 / 10 ข้อเสนอแนะ

4. ขอให้พิจารณาเรื่องค่าตอบแทนเกินภาระงาน สำหรับสายนักวิจัยและสายปฏิบัติงานด้วย 5. มหาวิทยาลัยควรกำหนด Human Develop- ment Index ของบุคลากรมหาวิทยาลัยทุก สาย ทุกระดับ และควรลงทุนกับการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากร เช่น ผู้บริหารระดับ ต่างๆ ให้มีความรู้ด้านการบริหาร หรือจัดเข้า อบรมหลักสูตรต่างๆ มากกว่าที่จะเอาเงิน มาเป็นเงื่อนไขในการ drive การทำงาน 6. ควรจะให้ bonus เป็นปีจะเหมาะสมกว่า ทั้งสายอาจารย์ นักวิจัย และสายปฏิบัติการ 7 /10

7. มหาวิทยาลัยควรพิจารณารายรับ-รายจ่ายให้ รอบคอบว่ากำหนดให้มีค่าตอบแทนเกินภาระ งานหรือไม่ 8. ควรพัฒนาบุคลากรให้มีแนวคิดในการแก้ ปัญหาของชุมชนให้มากกว่านี้ หรือนำโจทย์/ ปัญหาของชุมชนมาเป็นประเด็นในการ สัมมนาผู้บริหารของ มช. ด้วย 9. มหาวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา ควรมีการ ผลักดันแนวคิดจาก top to down (ให้บุคลากร มีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น) 10. สร้างแนวทางในการพัฒนาบุคลากรและ นักศึกษาที่จบการศึกษาจาก มช.ให้มีความคิด ในการออกไปรับใช้สังคมให้มากขึ้น 8/ 10

11. ควรสร้างหลักสูตรของการ sustainability และการตระหนักถึงปัญหาของชุมชนให้กับ บุคลากรและนักศึกษา (social responsibilities) 12. ควรจ่ายค่าตอบแทนให้เกิดความยุตธรรมต่อ บุคลากรทุกสาย ทุกระดับ 13. ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรใน สายสนับสนุนให้สอดคล้องกับภาระหน้าที่ของ แต่ละคนโดยเท่าเทียมกับสายอื่น 14. ผู้ชำนาญการ เมื่อเปลี่ยนสายงานมาเป็นสาย บริหาร เช่น เลขานุการคณะ จะได้เงินตอบแทน เฉพาะตำแหน่งบริหารเท่านั้น (ไม่ยุติธรรมเมื่อ เทียบกับสายอาจารย์ ) 9 / 10

15. ขอให้มีการทบทวนโครงสร้างการบริหาร เนื่องจากไม่มีตัวแทนของสายสนับสนุน และจากคณาจารย์ประจำร่วมเป็นกรรมการ 16. เสนอแนะให้มหาวิทยาลัยเปลี่ยน paradigm ที่มุ่งเน้น product-oriented เป็น human- oriented 10 / 10 ขอบคุณ