การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจการนิสิต (Student Affairs)
Advertisements

สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลการศึกษาการสร้างจิตอาสา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้วยโครงการจิตอาสานอกสถานที่ ปีการศึกษา 2555 นางสาวสุธาริณี วาคาบายาซิ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย.
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิชากิจกรรมการจัด ตกแต่งดอกไม้ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 3 กลุ่ม A31 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)

นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
โดย นางสาวจิตรอุษา อ่องเอี่ยม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)

ปัญหาการวิจัย มนุษย์มีความจำเป็นต้องปรับตัว เพื่อให้มีชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข การปรับตัวจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญ ที่จะต้องเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นวัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือผู้สูงอายุก็ตาม เพราะถ้ามนุษย์ไม่สามารถปรับตัวเองให้ เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ก็จะทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่นเกิดความคับข้องใจ วิตกกังวล มีความขัดแย้ง ที่ส่งผล ถึงด้านพฤติกรรม ซึ่งปัญหาในการปรับตัวนี้เกิดขึ้นได้กับ มนุษย์ทุกกลุ่มทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยรุ่น ช่วงอายุระหว่าง 14 – 18 ปี เพราะเป็นวัยที่กำลังศึกษา อยากลองอยากรู้ และเป็นวัยที่ร่างกายเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว จากวัยเด็กสู่ วัยรุ่น ซึ่งเป็นช่วงวัยที่สังคม กลุ่มรอบข้างมีการ เปลี่ยนแปลง มีผลทำให้ต้อง ปรับตัวและมีปัญหามากที่สุด

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรม การ ปรับตัวของนักเรียน ในวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ 2. เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมและ เงื่อนไขใน สถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการ ปรับตัวของนักเรียน

ประชากร เป็นนักเรียน ปวช. ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ ที่มีปัญหาจำนวน 4 กลุ่ม การเลือกกรณีศึกษา ใช้ วิธีการเลือก แบบ Extreme Case Sampling (Patton,1990) ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะหาผู้ให้ ข้อมูลหลัก โดยใช้วิธี Snow ball

กลุ่มตัวอย่าง 1. กลุ่มที่มีปัญหายาเสพ ติด 2. กลุ่มที่มีพฤติกรรม เบี่ยงเบน 3. กลุ่มที่มีปัญหาหนีเรียน 4. กลุ่มที่มีปัญหาทะเลาะ วิวาท 5. ศึกษาข้อมูลจากบุคคล ที่เกี่ยวข้อง - อาจารย์ผู้สอน - อาจารย์ที่ปรึกษา - ผู้ปกครอง

สรุปผลการวิจัย 1. นักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านเบี่ยงเบนทางเพศและด้านเกเร หนีเที่ยวเตร่ สามารถปรับตัวหรือพฤติกรรมให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม เงื่อนไข กฎระเบียบข้อบังคับของทางวิทยาลัยได้ 2. นักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านปัญหาการทะเลาะวิวาทและปัญหา ยาเสพติดไม่สามารถปรับพฤติกรรม หรือปรับตัวให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมเงื่อนไข กฎระเบียบของทางวิทยาลัย ได้

ประโยชน์ที่ได้จากการ วิจัย ได้การแก้ไขปัญหาเชิงป้องกันดังนี้คือ 1. อบรมส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจด้าน จริยธรรม การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างวัยเรียนที่ ถูกต้อง เหมาะสม อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2. สร้างสรรค์ สนับสนุน กิจกรรมที่ให้นักเรียน ได้แสดงความคิดเห็น การทำกิจกรรมร่วมกัน อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม ในการนำเสนอข้อคิดเห็น ที่ถูกต้อง เหมาะสมร่วมกันเพื่อ นำไปสู่การปฏิบัติจริง และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์.