“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ เรื่อง การคำนวณหาค่าความเค้นและความเครียดของวัสดุ โดยการใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักศึกษาระดับประกาศ-
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี

วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ความหมายของคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้ เกม Bingo Vocab ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ประเภทพาณิชยกรรม.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้ ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้ งานไฟวิ่ง 7 ดวงโดยใช้เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2(ปวช.2) สาขา อิเล็กทรอ-นิกส์ ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ” โดย นางสาวจุฑามาศ ทัศนศร

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้งานไฟวิ่ง 7 ดวง เพื่อที่ผู้เรียนจะได้ปฏิบัติ การทดลองได้สำเร็จตามเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ และครู ผู้สอนจะได้ดำเนินการเรียนการสอนได้อย่างต่อเนื่องและรวดเร็วทันเวลาตามกำหนดการสอน ในรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรอบแนวคิดในการวิจัย ทักษะ หมายถึง ความสามารถในการออกแบบวงจร ประกอบ บัดกรี และทดสอบวงจรไฟวิ่ง 7 ดวง เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน หมายถึง วิธีการสอนที่ให้เพื่อนักเรียนช่วยสอนให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องต่าง ๆ แบบกลุ่มรับผิดชอบ( 1:5) โดยเพื่อนช่วยสอนเป็นนักเรียนห้องเดียวกัน แต่มีความสามารถเรียนรู้ได้รวดเร็ว มีทักษะการคิด การวางแผนและทักษะการปฏิบัติงานที่ดีกว่ามาช่วยสอน การร่วมมือกันทำงาน การคิดอย่างมีจารณญาณ การแก้ปัญหา การฝึกทักษะวิชาชีพ และทักษะต่างๆ ที่เป็นการสร้างทักษะชีวิตให้กับตนเอง

กรอบแนวคิดในการวิจัย มีองค์ประกอบดังนี้       1. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายจากนักเรียนที่ออกแบบได้และประกอบ วงจรได้ถูกต้องตามกำหนดเวลา 2. ตั้งคำถามเพื่อประเมินค่าทักษะการคิดและความเข้าใจหลักการ ทำงานตามคุณสมบัติของวงจร(การสรุปผลการทดลองใบงาน ที่1)

กรอบแนวคิดในการวิจัย 3. เมื่อได้กลุ่มเป้าหมาย 7 คน ก็ทำการซักซ้อมความเข้าใจการ แก้ปัญหาที่พบเบื้องต้น 4. จากนั้นก็แบ่งกลุ่มรับผิดชอบ เป็น 7กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย 1คน ดูแลการออกแบบประกอบ บัดกรี ทดสอบวงจร และแก้ ปัญหาเบื้องต้น ของประชากร 5คน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้วิจัย ได้แก่ ผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียนรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางาน อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มเป้าหมาย 7 คน ก็ทำการซักซ้อมความเข้าใจการแก้ปัญหาที่พบเบื้องต้น จากนั้นก็แบ่งกลุ่มรับผิด ชอบ เป็น 7กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย 1คนดูแลการออกแบบประกอบ บัดกรี ทดสอบวงจร และแก้ปัญหาเบื้องต้น ของประชากร 5คน

รูปที่ 1 ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ Plan Action Observing Reflection สรุปผลการวิจัย รูปที่ 1 ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ เป็นแบบประเมินผู้เรียนมาตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ(Reting scale) ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง เป็นแบบประเมินการปฏิบัติการทดลองตามแบบทดสอบจริงของผู้เรียนจำแนกออกเป็น 2 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ด้านกระบวนการปฏิบัติการ

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ หมวดที่ 2 ด้านผลการปฏิบัติการตามแบบทดลอง/แบบประเมินผลงาน การประกอบและทดสอบวงจร

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ ชิ้นงานสมบูรณ์ของวงจรไฟวิ่ง 7 ดวง

สรุปผลการวิจัย 1. ด้านกระบวนการปฏิบัติงานออกแบบและประกอบวงจรไฟวิ่ง 7 ดวง ของผู้เรียน มีผลการประเมินตามลำดับจากมากไปหา น้อย ตามค่าเฉลี่ยจากเกณฑ์ที่กำหนด เป็นดังนี้คือความสะอาด รอบพื้นที่ปฏิบัติงาน (4.30),ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน(4.18) การเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนในห้อง(3.98),ความปลอดภัยในการทำงาน (3.84) ,การอ่านแบบวงจรและออกแบบแผ่นปริ้นท์(3.70)

สรุปผลการวิจัย 2. ด้านผลการปฏิบัติงานออกแบบและประกอบวงจรไฟวิ่ง 7 ดวง มีผลการประเมินตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตาม ค่าเฉลี่ยจากเกณฑ์ที่กำหนด เป็นดังนี้คือ การวางอุปกรณ์ ตรงตามตำแหน่ง/ค่าอุปกรณ์ (4.41) , ความถูกต้องการ ทำงานของวงจรรวม(4.39), จัดขา บัดกรีชิ้นงาน ความ ประณีต รวม(4.20)

สรุปผลการวิจัย 3. ด้านระยะการปฏิบัติงานออกแบบและประกอบวงจรไฟวิ่ง 7 ดวง มีผลการประเมินตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตาม ค่าเฉลี่ยจากเกณฑ์ที่กำหนด เป็นดังนี้คือ เวลาแต่ละ ขั้นตอน (4.36), เวลาการส่งผลงาน (4.36)

ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากผลข้อมูลทางสถิติทำให้ทราบถึงการพัฒนาหรือแนวโน้มที่เกิดขึ้นต่อผู้เรียนวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอนพอใจที่เลือกเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อนในการสอนแบบปฏิบัติการเมื่อเห็นความกระตือรือร้นของกลุ่มเป้าหมายที่ต้องรับผิดชอบต่อเพื่อนในกลุ่มและเกิดความภาคภูมิใจในตนเองส่วนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกช่วยเหลือก็เกิดความไว้วางใจเชื่อถือในความสามารถของเพื่อนผู้ช่วยสอนทำให้กล้าคิดกล้าทำกล้าซักถามและแก้ปัญหาที่ไม่ยากเกินไปเบื้องต้นได้

ข้อเสนอแนะการวิจัย ควรให้นักเรียนกลุ่มผู้ถูกช่วยเหลือ เลือกนักเรียนผู้ช่วยเหลือตามความสมัครใจ เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นการยอมรับกันและกัน ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่พบ จนเกิดทักษะทางการปฏิบัติงานและทักษะทางสังคมต่อไป

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ