มารู้จักนักสังคมสงเคราะห์ ทางการแพทย์กันเถอะ - ปฏิบัติงานในรพศ. / รพท. ของสป. - ปฏิบัติงานในรพ. และหน่วยงานของกรมสุขภาพจิต
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ร่วมวางแผนดูแลผู้ป่วยโดยการประเมินสภาพทางสังคมของผู้ป่วยระหว่างอยู่ในโรงพยาบาลและหลังจำหน่าย พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ประสานงาน จัดหา บริหารทรัพยากรในการช่วยเหลือผู้ป่วย แก้ไข/ป้องกัน ปัญหาทางสังคม ที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพอนามัยความเจ็บป่วย
บทบาทหน้าที่ใน COPD Clinic แก้ไข/ป้องกันปัญหาทางสังคมให้กับผู้ป่วยระหว่างการรักษาและ หลังจำหน่าย ดูแลด้านสิทธิให้กับผู้ป่วย ร่วมเยี่ยมบ้านกับทีม Home Health Care แก้ไข/ป้องกัน ปัญหาการขาดนัดของผู้ป่วย จัดหาอุปกรณ์ในการรักษาให้กับผู้ป่วยที่มีปัญหา
เป้าหมาย กิจกรรม มีการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาทางสังคมทุกราย รับปรึกษาปัญหาทางสังคมจาก Ward หรือ COPD Clinic และให้ความช่วยเหลือตามสภาพปัญหา ช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้ที่จำเป็นต้องใช้ O2 ที่บ้าน เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินสภาพปัญหาและให้ความช่วยเหลือ ร่วมจัดหา/บริหารกองทุน เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยด้านยา , อุปกรณ์ทางการแพทย์ , เครื่องอุปโภค - บริโภค
เป้าหมาย มีการใช้โทรศัพท์หรือจดหมายติดตามเมื่อขาดการรักษา ครบถ้วนทุกราย กิจกรรม โทรศัพท์หรือจดหมายเตือนก่อนถึงวันนัด เมื่อผู้ป่วยขาดนัด พยาบาลประจำ COPD Clinic ส่งรายชื่อให้งานสังคมสงเคราะห์เพื่อติดตามทางโทรศัพท์ จดหมาย ถึงผู้ป่วย หรือติดต่อหน่วยงาน (PCU / สอ. /รพช.) และลงเยี่ยมบ้านเพื่อหาสาเหตุการขาดนัดและให้ความช่วยเหลือ โดยทีมสหวิชาชีพ
เป้าหมาย มีการส่งทีมออกไปช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยขาดนัดหรือมารับการรักษาไม่ได้ กิจกรรม เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือ จัดส่งยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นให้ผู้ป่วยที่บ้าน โดยทีมสหวิชาชีพ
สวัสดี