ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นาสาวกนกรดา นิ่มละมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชาการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ.
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

การพัฒนาเทคนิคการเรียนสะกดคำของนักเรียนระดับชั้น
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
การใช้แนวการสอนภาษาที่เน้นคำศัพท์เพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความสามารถทางการอ่านและแรงจูงใจของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Use of Lexical.
การศึกษาผลการให้นักศึกษา ท่องชุดคำถามก่อนการสอบ รายหน่วยรายวิชาวิถีธรรมวิถี ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร.
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางสาวอัมพร ไชยสุริยา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย นายกวีกานต์ กลั่นมา

ปัญหาการวิจัย การออกเสียงเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญ เพราะถ้าผู้เรียนออกเสียงไม่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มแรกแล้วก็ยากที่จะแก้ไขให้ถูกต้องได้ ดังนั้น ในการเรียนรู้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้การออกเสียงในภาษาที่เรียนได้อย่างถูกต้องก่อนเป็นอันดับแรก คำภาษาอังกฤษถ้าออกเสียงไม่ถูกต้องแล้ว เจ้าของภาษาจะไม่สามารถฟังเข้าใจหรือเข้าใจคลาดเคลื่อนได้

ปัญหาการวิจัย ปัญหาที่พบสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทย นั่นคือ อาจนำเสียงในภาษาไทยที่ใกล้เคียงมาแทน เช่น van /væn/ ออกเสียงเป็น *[w æn] (นำเสียง /w/ แทนเสียง /v/ในเสียง /væn/ ) That /ðæt/ ออกสียงเป็น *[dæ ] (นำเสียง /d/ แทนเสียง /ð/ ในเสียง /ðæt/) เนื่องจาก /ð/ เป็นเสียงก้อง ประเภท เสียงเสียดแทรกในตำแหน่งเสียงระหว่างฟัน (Voiced Interdental Fricative) ที่ไม่มีในระบบหน่วยเสียงพยัญชนะภาษาไทย

ปัญหาการวิจัย ดังนั้นผู้วิจัยเลือกพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยระดับ ปวส. 1 ได้แก่ หน่วยเสียง/ f, v, θ, s, z, ʃ, tʃ, ð, ʤ, r. l / ซึ่งพบในหนังสือแบบเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 (ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1)

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ก่อนและหลังการใช้แบบฝึก

สรุปผลการวิจัย 1. จากการวิจัยพบว่าคะแนนทดสอบก่อน เรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.50 ส่วนคะแนน ทดสอบหลังเรียน มีค่าเท่ากับ 76.25 ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 70/70 นั่นคือ ออกเสียงสูงกว่าร้อยละ 2.5 ขึ้นไป ถือว่า แบบฝึกการอ่านออกเสียงมีประสิทธิภาพดี มาก

2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียงพยัญชนะ ภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบ เสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ก่อนและ หลังการใช้แบบฝึก พบว่านักศึกษาสามารถออกเสียงได้ถูกต้อง มากกว่าก่อนการฝึก

ตารางประกอบ V 80 16 50 10 ก่อนเรียน (%) หลังเรียน (%) หน่วยเสียง ก่อนเรียน (%) หลังเรียน (%) พัฒนาการการออกเสียง ร้อยละ จำนวนคน f ต้นคำ 75 15 95 19 20 4 ท้ายคำ 70 14 V 80 16 50 10 θ 85 17 s 100 5 1 90 18 2 z ʃ 35 7 40 8 tʃ 45 9 ð ʤ 60 12 r l

จบการนำเสนอ