การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
Advertisements

งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิธีสอนแบบอุปนัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
โดย นางวัลภา เก่งอักษร

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ วิชาวิทยาศาสตร์และคิดว่ามันเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะเรื่องพันธุกรรม การเรียน นักเรียนต้องปฏิบัติจริงจึงจะเกิด กระบวนการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ได้ แต่นักเรียนยังขาดส่วนนี้ ส่วนครูผู้สอนก็มี ภาระงานมาก ไม่มีเวลาเตรียมการสอน

การสอนมุ่งเนื้อหาไม่ได้มุ่งเน้นกระบวนการ เรียนรู้ บรรยากาศการเรียนการสอนไม่ กระตุ้นให้นักเรียนสนใจที่จะเรียน การสอน เน้นแต่การท่องจำไม่เน้นปฏิบัติ ครูไม่สนใจ และให้ความสำคัญกับนักเรียนน้อย ครูผู้สอนไม่คำนึงถึงพื้นฐานของผู้เรียน ไม่ ปรับพื้นฐานให้นักเรียน นักเรียนแต่ละคน ได้รับการปฏิบัติอย่างเดียวกัน โดยไม่ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ( รุ่ง แก้วแดง : ) นักเรียนจึงเรียน ด้วยความเบื่อหน่ายและไม่สนุกกับการเรียน จึงทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ

เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT และกิจกรรม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง พันธุกรรม รายวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ชั้น ปวช.2 ตามเกณฑ์ 75/75 เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT และกิจกรรม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณา การ และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนรู้ 4 MAT และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น

จากสภาพการเรียนการสอนดังกล่าวทำให้ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าแนวคิดวิธีการ และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาเป็นแนวทาง ในการดำเนินการวิจัยซึ่งสามารถเขียน ออกมาเป็นกรอบแนวคิดได้ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องพันธุกรรม รายวิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นบรูณา การและเจตคติต่อการ เรียนวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT และการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ แบบสืบ เสาะหาความรู้ 7 ขั้น

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนรู้ 4 MAT และกิจกรรมการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง พันธุกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ชั้น ปวช.2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ / และ / ตามลำดับ ดังนี้ ผู้เรียนได้ค่าเฉลี่ยจากการปฏิบัติกิจกรรม การทำแบบฝึกหัด และการทำแบบทดสอบ ย่อยประกอบกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนรู้ 4 MAT เรื่อง พันธุกรรม คิดเป็น ร้อยละ 79.17

ได้ค่าเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธุกรรม คิด เป็นร้อยละ ผู้เรียนได้ค่าเฉลี่ยจากการทำแบบฝึกหัด การปฏิบัติทดลอง และการทำแบบทดสอบ ย่อยประกอบกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ 7 ขั้น คิดเป็นร้อยละ ได้ค่าเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธุกรรม คิด เป็นร้อยละ 81.67

ครูผู้สอนควรนำรูปแบบการพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ไปใช้ร่วมเพื่อนำแนวทางการพัฒนาไป ประยุกต์ใช้กับเนื้อหาวิชาและระดับชั้นอื่น ๆโดยการ ปรับระยะเวลาที่ใช้หรือยืดหยุ่นตามความเหมาะสม กับสภาพของโรงเรียนและห้องเรียน ควรศึกษาเปรียบเทียบแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT และกิจกรรม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ที่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับวิธีสอนอื่นๆว่ามีความแตกต่างต่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและเจต คติต่อวิทยาศาสตร์ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน ครูควรนำการทดลองนี้ไปใช้เรียนกับรูปแบบอื่นเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ และเจตคติต่อ วิทยาศาสตร์ต่อไป 7