Principle of Occupational Medicine ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล พบ.(เกียรตินิยมอันดับ1) วท.ม. (อาชีวเวชศาสตร์) วว. เวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11 พฤศจิกายน 2552
วัตถุประสงค์ แพทย์ประจำบ้านปีที่ 1 เข้าใจความสัมพันธ์ “การทำงาน” กับ “การเจ็บป่วย” ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการทำงาน เห็นประโยชน์ ในการดูแลการเจ็บป่วยจากการทำงาน ในฐานะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในอนาคต
อาชีวอนามัย / อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Health / Medicine) คนทำงาน / กลุ่มอาชีพ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม บริการ แรงงานนอกระบบ
โรคที่เกิดขึ้นในกลุ่มประชากรวัยทำงาน Occupational disease Work-related disease General disease
Work-related CVD increase symptomatic level ? ill health workload natural disease progression time
Work condition Work Health Work environment
สิ่งคุกคามสุขภาพ (hazards) ลักษณะงาน ท่าทางการทำงาน - ทำซ้ำๆ, ยืนนาน งานเครียด ทำงานเป็นกะ สิ่งแวดล้อม กายภาพ เสียง, แสง, ความดัน, ความร้อน, ฝุ่น สารเคมี เชื้อโรค
ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ - ก่อนป่วย ทำงาน ป่วย บาดเจ็บ “สิ่งคุกคามสุขภาพ” ลักษณะ การทำงาน สภาพแวดล้อม
ความเจ็บป่วยจากการทำงาน สิ่งแวดล้อม สัมผัส ผลกระทบ หรือโรค สิ่งคุกคามสุขภาพ เข้าสู่คน อาการ (ในที่ทำงาน) อาการแสดง
โรคจากการทำงาน....มีอะไรบ้าง?
สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2 Respiratory System Pneumoconiosis Silicosis Asbestosis Byssinosis Occupational asthma Chronic bronchitis Physical Hazards Noise induced hearing loss Decompression sickness Arterial gas embolism Heat stress source : Bureau of Epidemiology 2005
สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2 Contact Dermatitis ICD – irritant contact dermatitis ACD – allergic contact dermatitis Musculoskeletal Diseases Occupational back pain Animal poisoning Snake envenomation Insects & other animals Plant poisoning Mushroom poisoning Other plants source : Bureau of Epidemiology 2005
สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2 Heavy Metals Poisoning Lead Elevated Blood Lead ................mg/dl Arsenic Cadmium Mercury Solvents & VOCs Poisoning Benzene Toluene Styrene Trichloroethylene source : Bureau of Epidemiology 2005
สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2 Gas Poisoning Sulphur dioxide poisoning Nitrogen dioxide poisoning Carbon monoxide poisoning Ammonia poisoning source : Bureau of Epidemiology 2005
สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2 Agricultural chemicals and other chemicals Insecticides Organophosphate poisoning Carbamate poisoning Pyrethroid poisoning Rodenticides Zinc phosphide poisoning Herbicides Paraquat poisoning Glyphosate poisoning Other chemicals source : Bureau of Epidemiology 2005
โรคจากการประกอบอาชีพตาม ILO
โรคจากการทำงานตามกฎหมาย Classify by hazards - Occupational disease from physical hazards - Occupational disease from chemical hazards - Occupational disease from biological hazards Classify by system - Occupational lung - Occupational dermatology - Musculoskeletal disease & work related - Occupational cancer
ประโยชน์ของการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน เพื่อจะได้ทำการรักษาผู้ป่วยได้ถูกต้อง เพื่อการป้องกันแบบทุติยภูมิเมื่อทราบสาเหตุโรค ทำให้สามารถป้องกันแบบปฐมภูมิ เพื่อไม่ให้คนงานในสิ่งแวดล้อมเดียวกันป่วยด้วยโรคเดียวกัน ใช้การป้องกันไม่ให้คนทำอาชีพเดียวกันป่วย
“ฉุกคิด” กันสักนิด ถ้าไม่ “ฉุกคิด” ไม่วินิจฉัย ไม่ได้ป้องกัน ป่วย / ตาย โดยไม่จำเป็น ถ้า “ฉุกคิด” วินิจฉัย 1 ราย ป้องกัน 1,000 ราย ป่วย / ตาย เท่าที่จำเป็น ได้รับการชดเชย ภูเขาน้ำแข็ง
ประโยชน์ของการวินิจฉัยสาเหตุ (1) ผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ
หลักการวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ ต้องวินิจฉัยก่อนว่าเป็นอะไร สืบค้นข้อมูลการทำงานโดยละเอียด พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งคุกคามกับการเกิดโรค ทบทวนข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับสิ่งคุกคามกับผลกระทบต่อสุขภาพ พิจารณาสาเหตุอื่นๆที่อาจทำให้เกิดโรคได้ รวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อสรุปวินิจฉัย
อะไรเป็นบทเรียนที่สำคัญ
แนวทางในการวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ ผู้ป่วย ซักประวัติ-ตรวจร่างกาย สงสัยโรคจากการทำงาน? ประวัติการประกอบอาชีพ การตรวจเพิ่มเติม การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การวินิจฉัยแยกโรค โรคจากการทำงาน Management Clinical Management กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม ปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENT HEALTH การฟื้นฟูสมรรถภาพ
แพทย์เฉพาะทาง กับ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ epidemiology toxicology industrial hygiene Occ Env diseases การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
Double Diagnosis ( ± occ med ) occ med ผู้ป่วย ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเพิ่มเติม แพทย์สาขาอื่น ( ± occ med ) วินิจฉัยพยาธิสภาพ ซักประวัติการทำงาน สำรวจโรงงาน ตรวจวัดสภาพแวดล้อม ตรวจร่างกาย ตรวจเพิ่มเติม occ med Work-relatedness
ประโยชน์ของการวินิจฉัยสาเหตุ (1) ผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ
สรุป – ในฐานะแพทย์ วินิจฉัย – โรค และ สาเหตุ รักษา (manage) รายงานโรค รง 506/2 ทำงานร่วมกับทีมอาชีวเวชศาสตร์