การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
จิบน้ำชา สายสนับสนุน 22 มีนาคม 2554.
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
อุทธรณ์.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
ประเด็นปัญหาปัจจุบัน
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
คณะ กลาง 1-4 คณะ ในเขต พื้นที่ 1-4 (6) รอง อธิกา รบดี ( พื้นที่ ) กอง การศึกษา ( พื้นที่ 1-6) กองบริหาร ทรัพยากร ( พื้นที่ 1-6) รอง ฯ บห. รอง ฯ วจ.
การจัดการเงินกองทุนสวัสดิการชุมชน
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
การปรับวุฒิข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
ทิศทางการสนับสนุนทรัพยากร บุคคล และการบริหารจัดการ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
โดย ดร.สว่าง ภู่พัฒน์วิบูลย์
ประชุมการจัดทำกรอบอัตรากำลังของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (สายสนับสนุน) วันที่ 3-4.
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อม ของการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
การวางมาตรการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม ตามพ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนพ
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
HR Database Business Database. วัตถุประสงค์รายครั้ง นักศึกษาสามารถ ออกแบบฐานข้อมูลของแผนกใน องค์กรธุรกิจ ได้แก่แผนกทรัพยากร มนุษย์ได้
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา ภาวิช ทองโรจน์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีเกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (๒๕๔๕)

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย (สถาบันอุดมศึกษา) ในระบบราชการ ปัจจุบัน: พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ๒๕๐๗ อนาคต:พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ..... (ผ่านวุฒิสภา 23 ก.พ.47) มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ พนักงาน: ข้อบังคับว่าด้วยการบริหารบุคคล (ออกโดยสภาฯ) ข้าราชการ: พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา อ.ก.ม. สามัญ,วิสามัญ พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการ ขรก.พ.มหาวิทยาลัย (ก.ม.) อ.ก.ม. มหาวิทยาลัย อ.ก.ม. อุทธรณ์ฯ (เก่า) คณะกรรมการ ขรก.พ.ใน ส.อุดมฯ (ก.พ.อ.) พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนใน ส.อุดมศึกษา อนุกรรมการ สภามหาวิทยาลัย/สถาบัน (ใหม่)

โครงสร้าง ก.พ.อ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน (กรณี ก.ม. – นายกฯ เป็นประธาน) ปลัดกระทรวงฯ, เลขาธิการ ก.พ. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (โปรดเกล้าฯ) 8-10 คน (ศาสตราจารย์, อธิบดี, ภาคเอกชนที่ประสบความสำเร็จ, กึ่งหนึ่งต้องเชี่ยวชาญบริหารบุคคล กฎหมายหรือบริหารจัดการภาครัฐ) นายกสภาสถาบัน, อธิการบดี, ผู้แทน ขรก. ประเภทละ 2 เลขาธิการ สกอ. เป็นกรรมการและเลขานุการ

หน้าที่ ก.พ.อ. เสนอแนะ ให้คำปรึกษาแก่ ร.ม.ต. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่อง ค่าตอบแทน สวัสดิการ ประโยชน์เกื้อกูล กำหนดมาตรฐานการบริหารงานบุคคล วินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ร้องทุกข์ การพิจารณา ตำแหน่ง วช.  สถาบันอุดมศึกษา ออกกฎ ก.พ.อ. ระเบียบ ข้อบังคับ

หน้าที่ ก.พ.อ. (ต่อ) กำหนดกรอบอัตรากำลัง กำกับดูแลและประเมินผลการบริหารงานบุคคล กำหนดค่าตอบแทนนายก และกรรมการสภาสถาบัน รับรองคุณวุฒิ เพื่อการบรรจุแต่งตั้ง กำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณ

พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มี ก.พ.อ. แทน ก.ม. , โครงสร้างเปลี่ยนไป ไม่มี อ.ก.ม. มหาวิทยาลัย แต่..... กำหนดให้สภามหาวิทยาลัยมีบทบาทหน้าที่ด้านบริหารบุคคล (เดิม ไม่มี) กำหนดตำแหน่ง ขรก.พอ. เป็น 2 สาย, วิชาการ และ บริหาร กำหนดจำนวนของตำแหน่งบริหาร (รองฮธิการ 5, ผช.อธิการ 3, รองคณบดี 3) ให้ ศ. และ รศ. ต่ออายุราชการได้ถึง 65 ปี กำหนดเงินเดือนสูงกว่าที่กำหนดได้ ตามความรู้ความมสามารถ ผู้บริหารรับเงินประจำตำแหน่งบริหาร + วิชาการ

พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) กำหนดเงื่อนไขต่างๆ ได้เอง (การคัดเลือก, การทดลองปฏิบัติราชการ, การเลื่อนระดับ ฯลฯ) เงือนเดือน ยังเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง แต่ ก.พ.อ. อาจกำหนดเงินเพิ่ม ได้ มีหมวดว่าด้วย วินัย (เดิมไม่มี) สภาสถาบันต้องกำหนดจรรยาบรรณ การกำหนดจรรยาบรรณต้องรับฟังข้อคิดเห็น อาจกำหนดให้การผิดจรรยาบรรณบางข้อ เป็นการผิดวินัย หรือผิดวินัยร้ายแรง

พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) การดำเนินการทางวินัย – ตราเป็นข้อบังคับของสภาสถาบันอุดมศึกษา การอุทธรณ์ร้องทุกข์ – ไม่มี อ.ก.ม. อุทธรณ์ฯ โทษปลดออก ไล่ออก อุทธรณ์ต่อ ก.พ.อ. (30 วัน) โทษอื่นๆ อุทธรณ์ ต่อ สภาสถาบัน (30 วัน) หากไม่พอใจคำวินิจฉัย ให้ฟ้องศาลปกครอง

มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ระบบบริหารบุคคล เป็นไปตาม “หลักการกลาง” ตามที่ ค.ร.ม. เห็นชอบ ให้มีระบบคู่ขนานได้ โดยไม่กำหนดเงื่อนเวลาการปรับเปลี่ยนจาก ขรก. ไปเป็น พนักงาน ไว้ในกฎหมาย แต่ให้ใช้มาตรการเชิงบริหารแทน โดยให้กำหนดเป็นมติ ค.ร.ม. มีหลักการว่าให้พยายามปรับ ขรก. ไปเป็น พนักงาน ทั้งหมดในเวลาเร็วที่สุด เห็นชอบให้ใช้ชื่อตำแหน่ง “ข้าราชการมหาวิทยาลัย.......” ได้ มีสิทธิเป็นสมาชิก ก.บ.ข. มีสิทธิได้รับเครื่องราชฯ

แนวทางการปรับเปลี่ยนสถานภาพ ขรก. เป็น พนักงาน กลุ่ม 1 เกิน 3,000 คน จุฬาฯ 4,323 ขอนแก่น 4,221 เชียงใหม่ 5,231 มหิดล 9,358 สงขลา 4,111 เกษตร 3,182 กลุ่ม 3 จำนวน 500-1,000 คน นเรศวร 752 บูรพา 841 สจล. 857 กลุ่ม 2 จำนวน 1,000- 2,000 คน รามฯ 1,814 มศว. 1,496 ศิลปากร 1,200 มสธ. 1,204 สจพ. 1,021 กลุ่ม 4 ต่ำกว่า 500 คน ทักษิณ 305 มหาสารคาม 493 แม่โจ้ 457 อุบล 477 นิด้า 422