การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา ภาวิช ทองโรจน์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีเกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (๒๕๔๕)
ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย (สถาบันอุดมศึกษา) ในระบบราชการ ปัจจุบัน: พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ๒๕๐๗ อนาคต:พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ..... (ผ่านวุฒิสภา 23 ก.พ.47) มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ พนักงาน: ข้อบังคับว่าด้วยการบริหารบุคคล (ออกโดยสภาฯ) ข้าราชการ: พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา อ.ก.ม. สามัญ,วิสามัญ พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการ ขรก.พ.มหาวิทยาลัย (ก.ม.) อ.ก.ม. มหาวิทยาลัย อ.ก.ม. อุทธรณ์ฯ (เก่า) คณะกรรมการ ขรก.พ.ใน ส.อุดมฯ (ก.พ.อ.) พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนใน ส.อุดมศึกษา อนุกรรมการ สภามหาวิทยาลัย/สถาบัน (ใหม่)
โครงสร้าง ก.พ.อ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน (กรณี ก.ม. – นายกฯ เป็นประธาน) ปลัดกระทรวงฯ, เลขาธิการ ก.พ. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (โปรดเกล้าฯ) 8-10 คน (ศาสตราจารย์, อธิบดี, ภาคเอกชนที่ประสบความสำเร็จ, กึ่งหนึ่งต้องเชี่ยวชาญบริหารบุคคล กฎหมายหรือบริหารจัดการภาครัฐ) นายกสภาสถาบัน, อธิการบดี, ผู้แทน ขรก. ประเภทละ 2 เลขาธิการ สกอ. เป็นกรรมการและเลขานุการ
หน้าที่ ก.พ.อ. เสนอแนะ ให้คำปรึกษาแก่ ร.ม.ต. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่อง ค่าตอบแทน สวัสดิการ ประโยชน์เกื้อกูล กำหนดมาตรฐานการบริหารงานบุคคล วินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ร้องทุกข์ การพิจารณา ตำแหน่ง วช. สถาบันอุดมศึกษา ออกกฎ ก.พ.อ. ระเบียบ ข้อบังคับ
หน้าที่ ก.พ.อ. (ต่อ) กำหนดกรอบอัตรากำลัง กำกับดูแลและประเมินผลการบริหารงานบุคคล กำหนดค่าตอบแทนนายก และกรรมการสภาสถาบัน รับรองคุณวุฒิ เพื่อการบรรจุแต่งตั้ง กำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณ
พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มี ก.พ.อ. แทน ก.ม. , โครงสร้างเปลี่ยนไป ไม่มี อ.ก.ม. มหาวิทยาลัย แต่..... กำหนดให้สภามหาวิทยาลัยมีบทบาทหน้าที่ด้านบริหารบุคคล (เดิม ไม่มี) กำหนดตำแหน่ง ขรก.พอ. เป็น 2 สาย, วิชาการ และ บริหาร กำหนดจำนวนของตำแหน่งบริหาร (รองฮธิการ 5, ผช.อธิการ 3, รองคณบดี 3) ให้ ศ. และ รศ. ต่ออายุราชการได้ถึง 65 ปี กำหนดเงินเดือนสูงกว่าที่กำหนดได้ ตามความรู้ความมสามารถ ผู้บริหารรับเงินประจำตำแหน่งบริหาร + วิชาการ
พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) กำหนดเงื่อนไขต่างๆ ได้เอง (การคัดเลือก, การทดลองปฏิบัติราชการ, การเลื่อนระดับ ฯลฯ) เงือนเดือน ยังเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง แต่ ก.พ.อ. อาจกำหนดเงินเพิ่ม ได้ มีหมวดว่าด้วย วินัย (เดิมไม่มี) สภาสถาบันต้องกำหนดจรรยาบรรณ การกำหนดจรรยาบรรณต้องรับฟังข้อคิดเห็น อาจกำหนดให้การผิดจรรยาบรรณบางข้อ เป็นการผิดวินัย หรือผิดวินัยร้ายแรง
พ.ร.บ. ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) การดำเนินการทางวินัย – ตราเป็นข้อบังคับของสภาสถาบันอุดมศึกษา การอุทธรณ์ร้องทุกข์ – ไม่มี อ.ก.ม. อุทธรณ์ฯ โทษปลดออก ไล่ออก อุทธรณ์ต่อ ก.พ.อ. (30 วัน) โทษอื่นๆ อุทธรณ์ ต่อ สภาสถาบัน (30 วัน) หากไม่พอใจคำวินิจฉัย ให้ฟ้องศาลปกครอง
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ระบบบริหารบุคคล เป็นไปตาม “หลักการกลาง” ตามที่ ค.ร.ม. เห็นชอบ ให้มีระบบคู่ขนานได้ โดยไม่กำหนดเงื่อนเวลาการปรับเปลี่ยนจาก ขรก. ไปเป็น พนักงาน ไว้ในกฎหมาย แต่ให้ใช้มาตรการเชิงบริหารแทน โดยให้กำหนดเป็นมติ ค.ร.ม. มีหลักการว่าให้พยายามปรับ ขรก. ไปเป็น พนักงาน ทั้งหมดในเวลาเร็วที่สุด เห็นชอบให้ใช้ชื่อตำแหน่ง “ข้าราชการมหาวิทยาลัย.......” ได้ มีสิทธิเป็นสมาชิก ก.บ.ข. มีสิทธิได้รับเครื่องราชฯ
แนวทางการปรับเปลี่ยนสถานภาพ ขรก. เป็น พนักงาน กลุ่ม 1 เกิน 3,000 คน จุฬาฯ 4,323 ขอนแก่น 4,221 เชียงใหม่ 5,231 มหิดล 9,358 สงขลา 4,111 เกษตร 3,182 กลุ่ม 3 จำนวน 500-1,000 คน นเรศวร 752 บูรพา 841 สจล. 857 กลุ่ม 2 จำนวน 1,000- 2,000 คน รามฯ 1,814 มศว. 1,496 ศิลปากร 1,200 มสธ. 1,204 สจพ. 1,021 กลุ่ม 4 ต่ำกว่า 500 คน ทักษิณ 305 มหาสารคาม 493 แม่โจ้ 457 อุบล 477 นิด้า 422