บทเรียนกับอนาคตที่ท้าทาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
The 10th National Health Plan
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนกับอนาคตที่ท้าทาย สามทศวรรษสาธารณสุขมูลฐานไทย บทเรียนกับอนาคตที่ท้าทาย โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

วิวัฒนาการงานสาธารณสุขชุมชนไทย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สปสช. สุขภาพปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ โครงการวัดโบสถ์ รับนโยบายสาธารณสุขมูลฐาน ทศวรรษการพัฒนา สอ. วิกฤตเศรษฐกิจ การแพทย์แผนไทย พื้นบ้าน พรบ.สุขภาพแห่งชาติ บัตรสุขภาพ อสม. ปัจจุบัน 2507 2545 2521 2524 2528 2535 2493 2512 2517 2540 2544 2485 2511 2518 2539 2542 2550 โครงการสารภี สสส. แพทย์ชนบท บริการสาธารณสุขชุมชน โครงการปฏิรูประบบบริการ สาธารณสุข สถานีอนามัย การขยายตัวของ โรงพยาบาลชุมชน แผนงานควบคุมโรคติดต่อ กระจายอำนาจ การสร้างระบบบริการปฐมภูมิ โครงการลำปาง สเมิง โนนไทย ประชาคมสุขภาพ

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการใช้บริการผู้ป่วยนอก บริการสาธารณสุขไทย (2520-2543) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการใช้บริการผู้ป่วยนอก 46.2% 24.4% 29.4% 2520 33.1% 26.4% 40.5% 2524 32.4% 35.9% 31.7% 2528 32.8% 27.7% 39.4% 2532 21.2% 19.1% 18.2% ตติยภูมิ ทุติยภูมิ 37.2% 33.7% 35.7% ปฐมภูมิ 41.6% 47.2% 46.1% 2536 2540 2543

แบบแผนความเจ็บป่วยและสถานการณ์ระบบบริการ สถานการณ์สุขภาพ แบบแผนความเจ็บป่วยและสถานการณ์ระบบบริการ ภัยคุกคามต่อสุขภาพจากโรคเรื้อรัง: โรคมะเร็ง ความดันสูง เบาหวาน ยาเสพติด อุบัติเหตุ อุบัติภัย และความรุนแรง ปัญหาจากโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ ปัญหาความเป็นธรรม การเข้าถึงยาและบริการ ความปลอดภัยของอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค ความทุกข์ในระบบบริการทางการแพทย์

สถานการณ์อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อสม. ปัจจุบันมีราว 800,000 คน แนวโน้มเป็นหญิงมากขึ้น จาก1.7:1 (2536) เป็น 2.3:1 (2549) เป็น อสม. มาน้อยกว่า 5 ปีถึง 37% เป็นได้ 6-10 ปีกว่า 20% อสม. อายุน้อยมีทักษะความรู้ดีกว่า อสม. อายุมาก (90% จบการศึกษาไม่เกินมัธยมปลาย อาชีพเกษตรกร/รับจ้าง) ร้อยละ 30 ไม่เคยอ่าน นสพ. เพื่อน ผสส./อสม. เครื่องมือใน ศสมช. มีการใช้งานน้อยมาก (สูงสุด 3-4 ด./ครั้ง) งานที่ทำได้ดี: แจ้งข่าวสาร งานรณรงค์และการสำรวจข้อมูล

ประเมินสถานการณ์สาธารณสุขมูลฐาน สสม. กับบริบททางประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลง อสม. เป็นทุนทางสังคมด้านสุขภาพที่สำคัญ กระบวนการ อสม. ยังมีชีวิตอยู่และเป็นผู้หญิงมากขึ้น งานที่ทำได้ดีคืองานที่เสร็จเป็นคราวๆ ในระยะเวลาสั้นๆ รูปแบบงาน สสม. เหมาะกับพื้นที่ชนบท สสม. กับระบบสนับสนุนที่กำลังเปลี่ยนแปลง อสม. กับการรักษาความเป็นกลางทางการเมือง การเกิดขึ้นของรูปแบบอาสาสมัครชุมชนที่หลากหลาย

สถานการณ์งานสุขภาพภาคประชาชน สถานการณ์โรคและปัญหาที่เปลี่ยนแปลง ผลกระทบจากโลกาภิวัตร์และทุนนิยมโลก การกระจายอำนาจกับโอกาสทางนโยบาย ความขัดแย้งและความรุนแรง งานสุขภาพภาคประชาชนที่ขยายตัว การตื่นตัวเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายของบริบทการทำงาน ระบบบริการสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ระบบการสนับสนุนที่หลากหลาย

ทิศทางและอนาคต ระบบสุขภาพชุมชนกับสังคมที่ไม่ทอดทิ้งกัน ภูมิปัญญาชาวบ้านและเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้สูงอายุ การควบคุมป้องกันโรค-อุบัติภัย สร้างความเข้มแข็งให้ระบบบริการสุขภาพชุมชน ส่งเสริมประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น การเรียนรู้เรื่องสันติวิธีกับการจัดการความขัดแย้ง สร้างเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนเชื่อมโยงนโยบาย พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนให้หลากหลาย