CH.2 RISK & RETURN
Learning Goals 1. Understand the meaning and fundamentals of risk, return, and risk aversion. 2. Describe procedures for assessing and measuring the risk of a single asset. 3. Discuss the measurement of return and standard deviation.
Risk and Return Fundamentals If everyone knew ahead of time how much a stock would sell for some time in the future, investing would be simple endeavor. Unfortunately, it is difficult -- if not impossible -- to make such predictions with any degree of certainty. As a result, investors often use history as a basis for predicting the future. We will begin this chapter by evaluating the risk and return characteristics of individual assets, and end by looking at portfolios of assets.
Risk Defined In the context of business and finance, risk is defined as the chance of suffering a financial loss. Assets (real or financial) which have a greater chance of loss are considered more risky than those with a lower chance of loss. Risk may be used interchangeably with the term uncertainty to refer to the variability of returns associated with a given asset. Other sources of risk are listed on the following slide.
Table 2.1
ความเสี่ยง (RISK) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) ความไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นในอนาคตแน่ ความเสี่ยง (Risk) อัตราของความไม่แน่นอนว่ามีมากน้อยเพียงใด
ทัศนคติที่มีต่อความเสี่ยง (Risk Attitude) กลัวความเสี่ยง Expected Return เฉย ๆ กับความเสี่ยง รักความเสี่ยง Risk x1 x2
ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงที่เป็นระบบ ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ (systematic risk, undiversifiable risk, market risk, macro risk) ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ (unsystematic risk, diversifiable risk, specific risk, micro risk) ความเสี่ยงทั้งสองประเภทต่างกันอย่างไร ???
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงที่ไม่ได้เกิดโดยสภาพแวดล้อมรวม เป็นความเสี่ยงเฉพาะตัว ได้แก่ ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ (business risk) ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk)
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ (business risk) เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับกระแสเงินสดรับและจ่ายที่เกิดขึ้นจริงไม่เป็นไปตามที่คาดไว้
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ (business risk) ความไม่แน่นอนของ กระแสเงินสดรับ ภาวะของการแข่งขัน การคาดคะเนที่เกี่ยวกับคู่แข่ง ราคาขายและยอดขายที่แตกต่างจากการประมาณไว้
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ (business risk) ความไม่แน่นอนของ กระแสเงินสดจ่าย การไม่สามารถควบคุมต้นทุนการดำเนินงาน ต้นทุนคงที่ (fixed cost) ต้นทุนผันแปร (variable cost)
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ (business risk) เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับกระแสเงินสดรับและจ่ายที่เกิดขึ้นจริงไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ เกิดจาก “ความเสี่ยงทางด้านการขายประกอบกับความเสี่ยงทางด้านการดำเนินงาน” เป็นหลัก ทำให้กระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับไม่เป็นไปตามที่คาด
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการที่ธุรกิจจัดหาเงินมาใช้ในการดำเนินงาน เงินทุนจากเจ้าของ เงินทุนจากเจ้าหนี้ การกู้ยืมก่อให้เกิดภาระผูกพัน (obligation) ในการชำระคืนดอกเบี้ยและเงินต้น
ความเสี่ยงที่เป็นระบบ ความเสี่ยงที่ เกิดจากระบบโดยรวม เช่น ภาวะเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่มีใครสามารถหลีกเลี่ยง หรือไม่มีใครสามารถควบคุมได้ ทุกคนได้รับผลกระทบจากความผันผวนของเหตุการณ์เหล่านี้ แต่ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นกับแต่ละหน่วยธุรกิจ หรือกับแต่ละบุคคลนั้น อาจจะมีความรุนแรงไม่เท่ากัน
ความเสี่ยงที่เป็นระบบ ความผันผวนในอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate risk) ความผันผวนในอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk) ความผันผวนในราคาสินค้า วัตถุดิบ (Commodities price risk) ความผันผวนในเหตุการณ์ทางการเมือง (Political risk) ความผันผวนในเหตุการณ์ทางสังคม (Social risk)
ลำดับของการจัดการความเสี่ยงทั้งสอง ต้อง diversify ก่อน เพราะไม่มีต้นทุนเพิ่ม “ don’t put all of your eggs in one basket” จากนั้น ถ้าต้องการลดปริมาณความเสี่ยงที่เป็นระบบ จึงจะทำการประกันความเสี่ยง หรือ hedge ซึ่งมีต้นทุนในการจัดการ
ผลตอบแทน (Return) ผลตอบแทน (Return) คือ รายได้(income) ที่ได้รับจากการลงทุนและการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด อัตราผลตอบแทน = มูลค่าปลายงวด – มูลค่าต้นงวด + เงินสดที่ได้รับระหว่างงวด เงินลงทุนต้นงวด อัตราผลตอบแทน = (ราคาหุ้นที่ขายได้ - ราคาหุ้นที่ซื้อมา) + เงินปันผล ราคาหุ้นที่ซื้อมา = capital gains yield + dividend yield Capital gains yield = ราคาหุ้นที่ขายได้ – ราคาหุ้นที่ซื้อมา ราคาหุ้นที่ซื้อมา Dividend yield = เงินปันผล
ตัวอย่างการลงทุนในหุ้นสามัญ ซื้อหุ้นทองคำมาในราคา 10 บาท/หุ้น เวลาผ่านไป 1 ปี ปัจจุบันหุ้นทองคำราคา 9.5 บาท/หุ้น ก่อนหน้านี้ผู้ถือหุ้นได้รับเงินปันผลหุ้นละ 1 บาท อัตราผลตอบแทน = (ราคาหุ้นที่ขายได้ - ราคาหุ้นที่ซื้อมา) + เงินปันผล ราคาหุ้นที่ซื้อมา = (9.5 – 10) + 1 = 5% 10
Return Defined Return represents the total gain or loss on an investment. The most basic way to calculate return is as follows: kt = Pt - Pt-1 + Ct Pt-1 Where kt is the actual, required or expected return during period t, Pt is the current price, Pt-1 is the price during the previous time period, and Ct is any cash flow accruing from the investment
Return Defined Table 2.2 Table 2.2 Table2.2
Risk Preferences
Example Norman Company, a custom golf equipment manufacturer, wants to choose the better of two investments, A and B. Each requires an initial outlay of $10,000 and each has a most likely annual rate of return of 15%. Management has made pessimistic and optimistic estimates of the returns associated with each. The three estimates for each assets, along with its range, is given in Table 2.3 Asset A appears to be less risky than asset B. The risk averse decision maker would prefer asset A over asset B, because A offers the same most likely return with a lower range (risk).
Example
Discrete Probability Distributions Example Discrete Probability Distributions
Continuous Probability Distributions Example Continuous Probability Distributions
Risk Measurement Standard Deviation The most common statistical indicator of an asset’s risk is the standard deviation, σk, which measures the dispersion around the expected value. The expected value of a return, k-bar, is the most likely return of an asset.
Risk Measurement Standard Deviation
Risk Measurement Standard Deviation The expression for the standard deviation of returns, σk, is given in Equation 5.3 below.
Risk Measurement Standard Deviation
Risk Measurement Standard Deviation
Risk Measurement Standard Deviation
Coefficient of Variation Risk Measurement Coefficient of Variation The coefficient of variation, CV, is a measure of relative dispersion that is useful in comparing risks of assets with differing expected returns. Equation 5.4 gives the expression of the coefficient of variation.
Coefficient of Variation Risk Measurement Coefficient of Variation When the standard deviation (from Table 5.5) and the expected returns (from Table 5.4) are substituted into Equation 5.4, the coefficients of variation may be calculated resulting in the values below.