การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
Advertisements

ประชุมชี้แจงนโยบายงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๖
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ปัญหาของการบันทึกข้อมูลHCIS
1. การบริหารจัดการข้อมูลธุรกิจ
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
การใช้แรงงานหญิงและเด็ก
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติ การ ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการฐานข้อมูล 18 แฟ้ม วันที่ 30 มีนาคม 2552 ณ ห้องประชุม สสจ. น่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
วาระการประชุม แจ้งทราบ แนวทาง 56
การจัดทำบัตรประกันสุขภาพกลุ่มต่างๆ
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
คำถามต่าง ๆ ในงานแพทย์แผนไทย นายธนพล มีอุดร งานสารสนเทศ สปสช. เขต 1 เชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
วิธีตรวจสอบข้อมูล 21 แฟ้ม ก่อนอัพโหลด ด้วยโปรแกรม สปสช. OPPP NHSO 2556.
วิธีการบันทึกหน้า NCDSCREEN ในโปรแกรม JHCIS v.27สิงหาคม55
สามารถแก้ไขข้อมูล ได้ดังนี้ รหัสผ่าน (username / password) ของตำบล แก้ไข - เพิ่มเติม ฐานข้อมูลทั่วไป ของจังหวัด แก้ไข - เพิ่มเติม.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
การกำหนดค่าเบื้องต้นเพื่อการใช้งาน และส่งออก 43 แฟ้ม
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557
ระบบข้อมูลและการเบิกจ่ายงบประมาณ
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554
หน้าจอส่งออก 43 แฟ้ม ส่งเป็น Zip ส่งOnline รายชื่อตารางต่างๆ
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558

P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สรุปผลการปรับปรุงข้อมูลใน JHCIS
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม

แฟ้มที่ 1 PERSON

แฟ้มที่ 2 DEATH

กำหนดสถานะเป็นตาย

แฟ้มที่ 3 CHRONIC

เลือกบุคคลแล้ว คลิกแท็ป โรคเรื้อรัง

แฟ้มที่ 4 CARD

เลือกบุคคลแล้ว

แฟ้มที่ 5 SERVICE

ลงอาการเบื้องต้นแล้ว คลิกแท็ป จ่ายยา

แฟ้มที่ 6 DIAG

ระวัง ประเภทการวินิจฉัย ลงอาการเบื้องต้นแล้ว คลิกแท็ป วินิจฉัยโรค

แฟ้มที่ 8 SERVEIL

วินิจฉัยโรค แล้วเป็นโรค 506 จะได้หน้าต่างข้างล่าง

แฟ้มที่ 9 DRUG

ระวังจำนวนการจ่ายยาด้วย

แฟ้มที่ 10 PROCED

ระวังรหัสหัตถการใหม่ เป็นเลข 7 หลักไม่มีขีด

แฟ้มที่ 11 WOMAN

ลงบันทึก หญิงวัยเจริญพันธุ์

เลือกหมู่บ้านในการลงข้อมูล

แฟ้มที่ 12 FP

เลือกบุคคลรับบริการแล้ว คลิกแท็ปวางแผนครอบครัว การวางแผนโดยยาเม็ด ห้ามเป็นเพศชาย และถุงยางห้ามเป็นหญิง

แฟ้มที่ 13 EPI

เลือกบุคคลรับบริการแล้วคลิกแท็ปวัคซีน

แฟ้มที่ 14 NUTRITION

น้ำหนักต้องอยู่ในช่วง 0.5 – 300 กิโลกรัม ส่วนสูงต้องอยู่ในช่วง 15 – 300 เซ็นติเมตร

น้ำหนักต้องอยู่ในช่วง 0.5 – 300 กิโลกรัม เลือกบุคคลรับบริการแล้วคลิกแท็ปโภชนาการ น้ำหนักต้องอยู่ในช่วง 0.5 – 300 กิโลกรัม ส่วนสูงต้องอยู่ในช่วง 15 – 300 เซ็นติเมตร

แฟ้มที่ 15 ANC

เลือกคนรับบริการแล้ว คลิกแท็ปตรวจครรภ์

ลงรายการ ฝากครรภ์ แล้วคลิกแท็ป Blood Test

แฟ้มที่ 16 PP

ระวังการเยี่ยมอายุต้องอยู่ในช่วง 1-45 วันเท่านั้น 1. เพิ่มประชากรเด็กเกิดใหม่ก่อนนะครับ ระวังการเยี่ยมอายุต้องอยู่ในช่วง 1-45 วันเท่านั้น

แฟ้มที่ 17 MCH

1. ต้องลงรายละเอียดการคลอดก่อนนะครับ เลือกคนรับบริการแล้วคลิกแท็ป คลอด ลงการคลอดแล้ว คลิกแท็ป บันทึกข้อมูลเด็กแรกเกิด

2. ลงบันทึกข้อมูลเด็กแรกเกิด *********จะเลือกเด็กตรงนี้ได้ต้อง เพิ่มเด็กในฐานโดยมีวันเกิด ตรงกับวันที่แม่คลอด ********

3. ลงบันทึกการเยี่ยมมารดาหลังคลอด ระวังการเยี่ยมหลังคลอดให้อยู่ในช่วง 1-45 วันหลังคลอดเท่านั้น

แฟ้มที่ 18 HOME

1. การลงบันทึกหลังคาเรือน เลือกหมู่บ้าน และบ้านที่ต้องการลงข้อมูล ลงข้อมูลรายละเอียดเสร็จแล้ว กดแท็ป การสุขาภิบาลที่พักอาศัย

ลงข้อมูลการสุขาภิบาลที่พักอาศัย เสร็จ กดแท็ป การสุขาภิบาลอาหาร

ลงข้อมูลการการสุขาภิบาลอาหารเสร็จ กดแท็ป การควบคุมสัตว์และแมลง

ขอให้โชคดีนะครับกับการบันทึกข้อมูลเพื่อให้ครบถ้วนตาม สปสช.