การพัฒนาบทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระดับ เขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑
Advertisements

โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ค่ายวิชาการภาษาอังกฤษแบบเข้ม ระดับชั้น ป. 6 และ ม. 3
มอบโลกใบใหม่ แห่งการเรียนรู้แก่ผู้สูงวัย
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภาค ๒ ว่าด้วยสิทธิที่ควรมีควรได้. บท ๑ ว่าด้วยการเงิน ตอน ๑ การเงิน.
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
รายละเอียดของรายวิชา
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
สรุปผลการแข่งขันกีฬานักเรียนกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอดำเนินสะดวก ครั้งที่ ๑๖ ดอนไผ่เกมส์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
My school.
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
My school.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
การแข่งขันศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
ผู้บริหารพบนักเรียน.
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
Company LOGO โรงเรียนปราสาทเบงวิทยา ตำบลกาบเชิง อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
เป้าหมายตามนโยบาย สพฐ. ๒๕๕๘
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
กิจกรรมปฐมนิเทศ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
แผนการดำเนินงาน พัฒนาการศึกษาขั้น พื้นฐาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ โดย ดร. กมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ผู้บริหารพบ นักเรียน. ผลงานดีเด่นของ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๖.
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
๕. ๑ ใส่เสื้อขาว ทุกคน. ๕. ๒ ทำบุญใส่บาตร ฟัง เทศน์
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การทัศนศึกษา.
ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ไม่เสี่ยงความยากจน
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาบทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียน วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practices ) การพัฒนาบทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นางประใพวรรณ สมจันทร์ ครูพิเศษ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน

๑.ความสำคัญของผลงาน หรือนวัตกรรมทีนำเสนอ รายวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีที่มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงสร้างบทเรียน e-Learning ขึ้นด้วย weblog

๑.ความสำคัญของผลงาน หรือนวัตกรรมที่นำเสนอ (ต่อ) เป็นการขยายโอกาสในการเข้าถึงเนื้อหา องค์ความรู้ ให้แก่นักเรียนมากขึ้น เป็นการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนให้พร้อมกับโลกยุคปัจจุบัน ทำให้บทเรียนเป็นสื่อในการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1. เพื่อพัฒนาบทเรียน e-Learning ฯ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ๒. จุดประสงค์และเป้าหมาย จุดประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียน e-Learning ฯ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียน e-Learning ฯ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6ที่มีต่อคุณภาพบทเรียน e-Learning ฯ

๒. จุดประสงค์และเป้าหมาย (ต่อ) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียน ภาคเรียนที่ 2/2557 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 234 คน ซึ่งได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน พัฒนาตามกระบวนการการออกแบบและพัฒนาระบบการเรียนการสอน e-Learning ของถนอมพร เหลาจรัสแสง ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว การศึกษาหลักการพัฒนาบทเรียน e-Learning และศึกษาโปรแกรมที่ใช้ ขั้นตอนที่ 2 การเลือกเนื้อหา บทเรียน e-Learning ประกอบด้วย 6 หน่วยการเรียน โดยใช้เวลาในการศึกษาจำนวน 20 ชั่วโมง

ขั้นที่ 4 การออกแบบหลักสูตร 1. กำหนดผลการเรียนรู้ ๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์สาระสำคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ขั้นที่ 4 การออกแบบหลักสูตร 1. กำหนดผลการเรียนรู้ 2. กำหนดวิธีการวัดผล จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 3. การทบทวนทรัพยากร 4. การออกแบบบทเรียน e-Learning

๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน(ต่อ) ขั้นที่ 5 ขั้นการพัฒนาการเรียนการสอน 5.1 บทเรียน e-Learning 5.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน e-Learning ขั้นตอนที่ 6 ขั้นการประเมินผล ขั้นตอนที่ 7 ขั้นการบำรุงรักษา

๔.ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการดำเนินงาน 1. คุณภาพบทเรียน e-Learning ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.61 2. ประสิทธิภาพของบทเรียน e-Learning พบว่า คะแนนระหว่างเรียน (E1) และคะแนนหลังเรียน (E2) คือ 83.74/86.94 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 4. นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26) และ S.D. มีค่าเท่ากับ 0.71

๔.ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ) 1. ได้บทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน e-Learning หรือบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรายวิชาอื่น ๆ หรือในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ

๕. ปัจจัยความสำเร็จ 1. ผู้บริหาร คณะครูให้การสนับสนุนทั้งในด้านวัสดุ อุปกรณ์ สื่อและการนิเทศ ติดตามประเมินผลที่ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ 2. โรงเรียนมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพและจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้ความร่วมมือ มีความตั้งใจในการเรียน ปฏิบัติและส่งผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย มีความรู้ความสามารถและมีการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลอย่างเป็นขั้นตอนและรอบคอบ

๖. บทเรียนที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการศึกษาไปใช้ 1) ควรศึกษาเนื้อหาบทเรียนในหน่วยการเรียนอื่น ๆ ที่ยากขึ้นไปอีก เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนให้สูงขึ้นไป 2) ในการพัฒนาบทเรียน e-Learning ครั้งต่อไปควรมีการศึกษารูปแบบการนำเสนอที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาสื่อบทเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3) สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้มีความรวดเร็ว ซึ่งจะช่วยให้การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ e-Learning เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

๖. บทเรียนที่ได้รับ (ต่อ) ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่พบจากการศึกษามีความแตกต่างกัน ควรสร้างบทเรียน e-Learning ตามความสามารถทางด้านสติปัญญาของนักเรียน 2) ควรพัฒนาบทเรียน e-Learning ร่วมกับสื่อสังคม (Social Media) ผสมผสานร่วมกัน

๗.การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ 1. การเผยแพร่แบบออนไลน์ (online) 2. การเผยแพร่แบบออฟไลน์ (offline) 3. การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ (บทคัดย่อ) 4. รางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันการสร้าง Webpage ประเภท Text Editor ม.4-ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ประจำปีการศึกษา 2557 ระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กลุ่ม 1สหวิทยาเขต 1-4

ท่านคณะกรรมการทุกท่าน Q & A ขอขอบคุณ ท่านคณะกรรมการทุกท่าน