วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
รหัส หลักการตลาด.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
Priciples of Marketing
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
แนวคิดการตลาดและการกำหนด กลยุทธ์การตลาด
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
( Human Relationships )
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
ดร. สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1 Comunicación y Gerencia วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ

เนื้อหาโดยรวม คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ดี ความหมายของผู้ประกอบการธุรกิจ จริยธรรมของผู้ประกอบการธุรกิจ

คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ดี มีความรับผิดชอบต่อการดำเนินงานของกิจการ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีความคิดสร้างสรรค์และมองการณ์ไกล มีความกระตือรือร้นในการทำงาน มีมนุษยสัมพันธ์และบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถในการสมาคมหรือติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆทุกระดับทั้งภายในและภายนอก มีจริยธรรมหรือจรรยาบรรณต่อวิชาชีพของตนเอง

ความหมายของผู้ประกอบการธุรกิจ ผู้ประกอบการธุรกิจ หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลที่มารวมตัวกันในลักษณะต่างๆเพื่อกระทำกิจกรรมในการผลิต การจัดจำหน่าย หรือให้บริการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมให้เกิดความพึงพอใจ และผู้ประกอบการมีกำไร หรือ ผู้ประกอบการธุรกิจ คือ ผู้ที่ดำเนินกิจกรรมต่างๆทางธุรกิจในลักษณะการผลิต การจัดจำหน่าย หรือการให้บริการ โดยมีวัตถุประสงค์ ด้านกำไรตามเป้าหมายที่กำหนด

จริยธรรมของผู้ประกอบการธุรกิจ ความหมายของจริยธรรม จริยธรรม คือ หลักเกณฑ์ หรือกฎที่สังคมให้ตัดสินว่ากระทำใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม ควรปฏิบัติ และการกระทำใดเป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ ทั้งต่อตนเอง และต่อผู้อื่น ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ คือ แนวทางให้ผู้ประกอบการทางธุรกิจยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อให้สังคมรอบๆตัว เป็นสังคมที่น่าอยู่ตลอดไป

จริยธรรมที่มีต่อผู้บริโภค หรือตลาดเป้าหมาย ต้องปฏิบัติต่อผู้บริโภคเสมอกัน ต้องจัดจำหน่ายสินค้าในราคายุติธรรม ต้องไม่กระทำการใดๆที่ทำให้ราคาสูงขึ้น ต้องจัดหาสินค้าที่มีประโชน์และมีคุณภาพ

จริยธรรมที่มีต่อคู่แข่งขัน ไม่ปฏิบัติการใดๆที่เป็นกลั่นแกล้งคู่แข่งขัน ไม่ทำลายคู่แข่งขันในลักษณะต่างๆ ควรให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม ทางสังคมต่างๆที่คู่แข่งขันขอความร่วมมือมา

จริยธรรม ต่อสังคม ไม่ประกอบธุรกิจที่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ดำเนินธุรกิจที่ สร้างความเสื่อมลงแก่สังคม ไม่ให้การดำเนินงานของธุรกิจส่งผลกระทบต่อสภาพ ความเป็นอยู่ของคนในสังคม สร้างงานให้เกิดขึ้นในสังคม