Information Technology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
ผศ.บุรัสกร อยู่สุข ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 809
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Dublin Core Metadata tiac. or
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 30/03/50 โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล.
Online Public Access Catalog
1 ProQuest Nursing & Allied Health Source โดย ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
ABI/INFORM User’s guide 01/08/50.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุ่งล่าสุด 12/5/2009.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
The automated web application testing (AWAT) system
โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) การใช้งานฐานข้อมูล โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/04/54.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
บรรณารักษชำนาญการพิเศษ
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
WEB OPAC.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
Ebsco Discovery Service (EDS)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
SCIENCE DIRECT.
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (4) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
ฐานข้อมูล Science Direct
Geographic Information System
ProQuest Nursing & Allied Health Source
มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
IngentaConnect.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
Searching Library Catalog “How-to” guide. Library Catalog คือ ฐานข้อมูล บรรณานุกรม ทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุด ได้แก่ หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย.
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Information Technology CHAPTER 6 Information Technology Information and Knowledge Management Faculty of Informatics, MSU.

หัวข้อการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต เมตาดาตา (Metadata) ดับลินคอร์ (Dublin Core) AACR2R MARC

เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล การสื่อสาร/โทรคมนาคม กระบวนการประมวลผล … ?

เทคโนโลยีสารสนเทศ Faster and Cheaper Smaller and smaller แนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต Hardware Trend Faster and Cheaper Smaller and smaller Blade Server Web Devices

เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต Software Technology and Service Trend CMM(Capability Maturity Model) มาตรฐานการพัฒนา software Offshoring แอพพลิเคชั่นในการพัฒนาความเชี่ยวชาญของพนักงาน MDA (Model Driven Architecture) แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟแวร์

เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต Software Technology and Service Trend SOA (Service-oriented architecture) แนวสถาปัตยกรรมการออกแบบซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันให้มีความยืดหยุ่นและเชื่อมโยงระบบเข้าด้วยกันได้ Open Source

เทคโนโลยีสารสนเทศ The Concept Cost Effective information display system Digital, Mobile, Flexible & Accurate Remotely Manageable Maintenance free Very Secure Wireless Hi-Tech

อินเทอร์เน็ต What is internet?

อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตให้บริการอะไรได้บ้าง Telnet หรือ SSH Electronic Mail News Group FTP (File Transfer Protocal WWW (World Wide Web) Skype, Net2Phone, Cattelecom.com Netmeeting ICQ (I Seek You) IRC (Internet Relay Chat) Game Online Software Updating Palm หรือ PocketPC WAP (Wireless Application Protocal) เทลเน็ตเป็นโปรแกรมประยุกต์สำหรับการเข้าใช้ระบบจากระยะไกลเทลเน็ตช่วยให้ผู้ใช้ในอินเทอร์เน็ตนั่ง ทำงานอยู่หน้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง   แล้วเข้าไปใช้เครื่องอื่นที่อยู่ในที่ต่าง ๆ ภายในเครือข่าย เครื่องที่ขอเข้าใช้อาจจะเป็นเครื่องที่อยู่ภายในห้องเดียวกันหรือในตึกเดียวกัน  หรือแม้กระทั่งเครื่องใด ๆ ทั่วทุกมุมโลกที่เชื่อมต่อเป็นส่วนหนึ่งของ อินเทอร์เน็ตอยู่ การเข้าใช้ระบบใด ๆ ด้วยเทลเน็ตให้เรียกใช้โดยการพิมพ์คำสั่ง Telnet   ตามด้วยชื่อโฮสต์ หรือเลขที่อยู่ไอพีของโฮสต์นั้นตามรูปแบบคำสั่ง

เมตาดาตา (Metadata) ข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งของ กิจกรรม คน หรือหน่วยงานก็ได้ ข้อมูลที่ใช้กำกับและอธิบายข้อมูลหลักหรือกลุ่มของข้อมูลอื่น ป้ายหรือฉลากสำหรับอธิบายว่าข้อมูลแต่ละรายการคืออะไร โดยเราไม่ต้องเสียเวลาเปิดดูก่อน

เมตาดาตา (Metadata) ตัวอย่าง เช่น บัตรรายการในห้องสมุดสำหรับสืบค้นหนังสือที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับชื่อหนังสือและตำแหน่งของหนังสือ ซึ่งหนังสือเป็นข้อมูลที่ต้องการ และบัตรเป็นข้อมูลที่อธิบายรายละเอียดของข้อมูลนั้น

ข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อมูล/สารสนเทศ เมตาดาตา (Metadata) ข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อมูล/สารสนเทศ มีประโยชน์ด้านใด ?

ดับลินคอร์ (Dublin Core) เป็นแบบแผน/มาตรฐานของเมตาดาตา อธิบายเนื้อหาและบริบทของงานดิจิตอล/สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วีดิทัศน์ เสียง ภาพ ข้อความ และสื่อผสม ปัจจุบันรูปแบบการสร้างหรือจัดทำของดับลินคอร์อยู่บนพื้นฐานของ XML และ Resource Description Framework (RDF)

ดับลินคอร์ (Dublin Core) สำหรับพรรณาเนื้อหา ชื่อเรื่อง(Title) ชื่อของทรัพยากรสารสนเทศ เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ฯลฯ หัวเรื่อง (Subject) สิ่งที่อธิบาย เรื่องและเนื้อหาของสารสนเทศ เช่น คำสำคัญ วลีสำคัญ เลขหมู่ หรือ รหัสหมวดวิชา เป็นต้น ลักษณะ (Description) คำอธิบายย่อเนื้อหาของสารสนเทศ เช่น บทคัดย่อ เป็นต้น ภาษา (Language) ภาษาที่ใช้เรียบเรียงสารสนเทศ เรื่องที่เกี่ยวข้อง (Relation) สารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ขอบเขต (Coverage) ระยะเวลาหรือขอบเขตของสารสนเทศ

ดับลินคอร์ (Dublin Core) สำหรับพรรณาทรัพย์สินทางปัญญา เจ้าของงาน (Creator) บุคคล องค์การ ที่รับผิดชอบในเชิงเนื้อหาของสารสนเทศ ปกติชื่อเจ้าของ ควรใช้ชื่อที่มีตัวตน เป็นรูปธรรมหรือหน่วยงานที่มีอยู่จริง สำนักพิมพ์ (Publisher) ผู้รับผิดชอบผลิตสารสนเทศที่เผยแพร่ ผู้ร่วมงาน (Contributor) บุคคล องค์การ ที่มีส่วนร่วมในการเป็นสร้างสารสนเทศ เช่น ผู้แต่งร่วม ต้นฉบับ (Source) ผลงานที่เป็นที่มาของสารสนเทศ ทุกรูปแบบ สิทธิ (Rights) ข้อมูลผู้มีสิทธิในหรือเหนือทรัพยากร รวมไปถึงลิขสิทธิ์ทางกฎหมาย

ดับลินคอร์ (Dublin Core) สำหรับพรรณาลักษณะเฉพาะ ปี (Date) ปีที่ผลิตผลงานในรูปแบบปัจจุบัน ประเภท (Type) ประเภทของสารสนเทศ เช่น homepage บทความ งานวิจัย นวนิยาย รูปแบบ (Format) รูปแบบของสารสนเทศ เช่น text/html, ASCII, JPEG image, mpeg file รหัส (Identifier) สัญลักษณ์ ที่ระบุถึงรายการสารสนเทศนั้นๆ เช่น URL, ISBN, Call No

ใช้โครงร่าง ISBD (G) มาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข AACR มาตรฐานตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกอเมริกัน AACR2R (Anglo-American Cataloging Rules, second edition, 1998 revision) ใช้โครงร่าง ISBD (G) มาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข AACR มาตรฐานสากลทั่วไปในการลงรายการทางบรรณานุกรม ISBD ( General International Standard Bibliographic Description) แบ่งโครงร่างรายการทางบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน

มาตรฐานตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกอเมริกัน AACR2R (Anglo-American Cataloging Rules, second edition, 1998 revision) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ (title and statement of responsibility area) ส่วนฉบับพิมพ์ (edition area) ส่วนรายละเอียดเฉพาะของวัสดุ(ประเภทของสิ่งพิมพ์) (material or type of publication specific details area) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ (publication, distribution, etc. area)

ส่วนลักษณะทางกายภาพ (physical description area) ส่วนชุด (series area) มาตรฐานตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกอเมริกัน AACR2R (Anglo-American Cataloging Rules, second edition, 1998 revision) ส่วนลักษณะทางกายภาพ (physical description area) ส่วนชุด (series area) ส่วนหมายเหตุ (note area) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความเกี่ยวกับการได้รับ (standard number and terms of availability area)

MARC (Machine Readable Cataloging) การลงรายการทางบรรณานุกรมของ หนังสือ สื่อมัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่ออื่นๆ บันทึกในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ ตามมาตรฐาน AACR2R ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและค้นคืน

MARC (Machine Readable Cataloging) มีโครงสร้างหลัก ดังนี้ การแบ่งเขตข้อมูลออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า เขตข้อมูล field เช่น เขตข้อมูลผู้แต่ง เขตข้อมูลชื่อเรื่อง เป็นต้น กำหนดชื่อเขตข้อมูลให้เครื่องรู้จักโดยใช้หมายเลข เรียกว่า ป้ายระบุขอบเขต tag แต่ละเขตข้อมูลมีการแบ่งออกเป็นส่วน ย่อยๆ เรียก เขตข้อมูลย่อย มีการลงรายการตัวชี้บอก

ข้อความและภาพประกอบการนำเสนอ ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่มีเจตนาพาดพิงบุคคลหรือละเมิดลิขสิทธิ์แต่อย่างใด