คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

(District Health System)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปฏิรูปโครงการสุขภาพ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กระบวนการวางแผนระดับจังหวัด
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นวัตกรรมสังคม ใน การจัดการระบบสุขภาพ.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่ กระบวนการ (1) กำหนดค่า กลาง (2) ทำการบูรณาการ และ (3) สร้างนวัตกรรม สังคมต่อไป  บูรณาการบทบาทกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ทำความตกลงในระดับ ส่วนกลางเกี่ยวกับความ ร่วมมือของ อปท. กับ หน่วยงานสาธารณสุขใน ประเด็นการพัฒนา สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ และการสนับสนุน นวัตกรรมสังคม แต่งตั้งนายก อปท. หรือ ผู้แทนเข้าร่วมเป็น คปสอ. ระดับอำเภอ มอบบทบาทการพัฒนาส่วน สภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯ ให้ อปท. โดยใช้บัญชีค่า กลางสำหรับโครงการ สุขภาพฯที่ สสจ. กำหนดชุด เดียวกับ รพสต. และกองทุนฯ วางระบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน ได้ระหว่าง อปท. กับ สธ. จะเริ่ม อย่างไร ?

 เพิ่มทักษะในการบริหาร จัดการโครงการแบบบูรณา การให้กับสาธารณสุข อำเภอและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นโดย 1. ใช้การเรียนการสอนที่มี การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์ จริง 2. ใช้วิทยากรที่มีอยู่ใน ระดับเขต เปนหลัก เสริม ด้วยวิทยากรกลาง ( ถ้า จำเป็น ) 3. ร่วมมือกับคณะ สาธารณสุขศาสตร์ ม. นเรศวร จัดหลักสูตรเฉพาะสำหรับ กลุ่มเป้าหมายทั้งสอง  ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหาร จัดการ ( Management Information) ระดับอำเภอ 1. เนื่องจากจะมีการบูรณาการ งานระดับท้องถิ่น / ตำบลจึง ควรปฏิรูประบบการเก็บและ รายงานข้อมูลในระดับต่างๆ ให้สอดคล้อง 2. พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูป ระบบสุขภาพระดับอำเภอ ( DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและ ใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯ กำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบ รายงานใหม่ตลอดทางจนถึง ส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่ เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบ ข้อมูลเดิม

 ปรับระบบการสนับสนุน ของจังหวัดและเขตต่อ อำเภอ / ตำบล 1. กำหนดงานสนับสนุนจาก พื้นฐานของงานในค่ากลาง ของฝ่ายปฏิบัติ 2. ใช้วิธีเจรจาความร่วมมือ ระหว่างฝ่ายปฏิบัติและ สนับสนุน 3. สรุปกิจกรรมสนับสนุนจาก งานสนับสนุนที่ตกลงกัน 4. บูรณาการงานสนับสนุนเข้า ด้วยกันแล้วจัดสรรกิจกรรม สนับสนุนตามบทบาทหน้าที่ ของฝ่ายต่างๆ 5. สร้างแผนงาน / โครงการ สนับสนุนของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 6. สร้างแผนปฏิบัติการร่วม ระหว่างฝ่ายสนับสนุน  ปรับระบบตัวชี้วัดให้ ตอบสนองกับการ เปลี่ยนแปลงในพื้นที่ที่ใช้ ระบบค่ากลางและบูรณา การ 1. ใช้ตัวชี้วัด 3 ชนิด คือ KRI, KPI, และ PI 2. KPI ใช้โดยผู้ปฏิบัติ เพื่อ ควบคุมทิศทางของการ พัฒนาด้วยตนเอง 3. สสอ. สนับสนุนผู้ปฏิบัติใน การบรรลุ KPI 4. PI ถูกส่งผ่านจากพิ้นที่ จนถึงส่วนกลางเพื่อใช้ใน การจัดสรรงบประมาณ 5. ข้อมูลถูกวิเคราะห์และ ป้อนกลับในระดับอำเภอ จังหวัดและเขต 6. ใช้ KRI ในการประเมินผล ส่วนกลาง เป็นผู้ออกแบบ และเก็บข้อมูลโดยตรงใน ฐานะ External Evaluator

จะจบอย่างไร ? หน่วยงานระดับเขตเป็นศูนย์กลางการพัฒนา สุขภาพของกลุ่มวัยที่กำหนด มีการบูรณาการบทบาทร่วมกันระหว่างกรมต่างๆ และสำนักงานปลัดฯ มีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการ แบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคม มีแนวคิดและวิธีวางแผนงานโครงการใหม่ที่สอด รับกับเทคนิคการบูรณาการ ( จากโครงการราย ประเด็นสู่โครงการรายกิจกรรม เพื่อจำกัดจำนวน โครงการให้เหลือ 2 โครงการ สำหรับ กลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม จะเหมาะสม สำหรับมอบให้ภาคปะชาชนและท้องถิ่น มีระบบข้อมูลและตัวชี้วัดที่สร้างจากการบูรณาการ ของงานที่ปฏิบัติจริงในพื้นที่