ชื่อผู้วิจัย นางศิรินันท์ โชติญาณนนท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Advertisements

โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สาขางานการท่องเที่ยวใน วิชาการจัดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
กิจกรรมปฐมนิเทศ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย

จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.

ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.

ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อผู้วิจัย นางศิรินันท์ โชติญาณนนท์   ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของนักเรียน-นักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางศิรินันท์ โชติญาณนนท์

ปัญหาการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ได้ให้ความสำคัญในเรื่องของการจัดกิจกรรมของนักศึกษาการจัดกิจกรรมของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี เป็นส่วนหนึ่งของการเสริมสร้างพัฒนาทักษะด้านต่างๆโดยมิใช่มีเพียงแต่การศึกษาในห้องเรียนให้แก่นักศึกษาเท่านั้นทั้งนี้การเสริมสร้างทักษะประกอบด้วยหลากหลายด้านเช่นการเพิ่มพูนความรู้การเข้ากลุ่มการทำงานเป็นหมู่คณะทักษะการคิดการวางแผนการจัดการการมีน้ำใจนักกีฬาการให้อภัยการแก้ไขปัญหาทั้งเฉพาะหน้าและการเตรียมแนวทางการจัดการกับปัญหาเสริมสร้างความสามัคคีให้แก่นักศึกษาทั้งนี้ยังสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาภายในคณะและภายนอกคณะรุ่นพี่รุ่นน้องและระหว่างคณาจารย์ในวิทยาลัยฯนอกจากนั้นการจัดกิจกรรมสำหรับนักศึกษายังเป็นภาระงานส่วนหนึ่งของวิทยาลัยฯเพื่อที่จะเสริมสร้างให้นักศึกษามีความสามารถตรงตามคำพูดของวิทยาลัยฯที่ว่า “More Than Education… Smart Active Fun”

ดังนั้นซึ่งการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาของทางวิทยาลัยฯผู้วิจัยพบว่ายังมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมและให้ความสนใจต่อกิจกรรมของทางวิทยาลัยฯไม่มากเท่าที่ควรดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงการมีส่วนร่วมของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยครอบคลุมทั้งด้านกิจกรรมทางวิชาการกิจกรรมภายในวิทยาลัยเช่นกิจกรรมกีฬากิจกรรมวันสำคัญกิจกรรมชมรมและกิจกรรม

วัตถุประสงค์การวิจัย 1.ศึกษาการมีส่วนร่วมของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมของวิทยาลัยราชเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี 2. ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี 3. เสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของกิจกรรมของนักศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มประชากร คือ นักเรียน-นักศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจนนทบุรีจำนวน 3,700 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน-นักศึกษา ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยเปิดตาราง ทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 300 คน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่ากิจกรรมที่นักศึกษาเข้าร่วมมากที่สุดคืองานวันปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่มาเป็นอันดับ 1 รองลงมาได้แก่ขอรับเธอไว้ในหัวใจ SBAC งานเทเหล้าเผาบุหรี่งานกีฬาสีงานเปิดโลกกิจกรรมและลอยกระทงงานไหว้ครูถวายพระพรวันพ่อแห่งชาติงานแห่เทียนจำพรรษาถวายพระพรวันแม่แห่งชาติงานวันครูงานวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษาโดยส่วนใหญ่นักศึกษามีลักษณะการเข้าร่วมกิจกรรมแล้วยังร่วมบริจาคเงินด้วยรองลงมาคือเข้าร่วมและมีส่วนเตรียมงานและมีส่วนคิดวางแผนกิจกรรม สรุปผลการวิจัย

สรุปผลการวิจัย นักศึกษามีความพึงพอใจต่อกิจกรรมวิทยาลัยเพราะกิจกรรมช่วยให้ได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันการทำงานเป็นทีมมาเป็นอันดับ 1 รองลงมาคือกิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคีภายในคณะฯระหว่างเพื่อนรุ่นพี่รุ่นน้องมาเป็นอันดับ 2 กิจกรรมเสริมสร้างความรับผิดชอบมาเป็นอันดับ 3 ทำกิจกรรมแล้วได้ความสนุกผ่อนคลายกับกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมมาเป็นอันดับ 4 และกิจกรรมทำให้เรียนรู้การมีจิตอาสาการเสียสละมาเป็นอันดับ 5 นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมมาเป็นอันดับ 1 รองลงมาอันดับ 2 คือสถานที่ๆจัดกิจกรรมอันดับ 3 คือรูปแบบลักษณะของกิจกรรมอันดับ 4 คือวิธีของการจัดกิจกรรมอันดับ 5 คือการดำเนินการจัดกิจกรรมอันดับ 6 คือการประชาสัมพันธ์ของกิจกรรมอันดับ 7 คือช่วงเวลาการจัดกิจกรรมอันดับ 8 คือการอำนวยความสะดวกต่างๆของคณะทำงานการจัดกิจกรรมอันดับ 9 คืออาหารเครื่องดื่มและของว่างและอันดับ 10 คือความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆในการจัดกิจกรรม