งานวิจัยการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย
การศึกษาผลการให้นักศึกษา ท่องชุดคำถามก่อนการสอบ รายหน่วยรายวิชาวิถีธรรมวิถี ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร.
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยการเรียนการสอน เรื่อง ผลของการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ ที่มีต่อการจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติ ของนักศึกษาระดับ ปวส. ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2556 ชื่อผู้วิจัย นายสุทธิพงศ์ ฉายากุล

ปัญหาการวิจัย - นศ. จดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติที่มุมสำคัญไม่ได้ - นศ. มีผลคะแนนเรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ ไม่ผ่านเกณฑ์

กรอบแนวคิดการวิจัย การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือเพื่อระบุ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เป็นวิธีการที่ช่วยให้นักศึกษา จดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่าย และคงทน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ ที่มีต่อการจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติของนักศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนของนักศึกษาที่ได้เรียนรู้ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ กับแบบการสอนปกติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ 45o 1   45o 1 30o 2 60o 1

ผลการทดสอบ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) หลังเรียนผ่านไป 1 สัปดาห์ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ปกติ คนที่ ผลการทดสอบ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ก่อนเรียน ครั้งที่ 1 หลังเรียน ครั้งที่ 2 หลังเรียนผ่านไป 1 สัปดาห์ 1 2 30 26 18 10 3 12 4 5 16 6 23 7 8 14 9 24 20 ค่าเฉลี่ย 20 คะแนน 17.30 คะแนน จำนวนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม 7 คน 6 คน ร้อยละของผู้ที่ผ่านเกณฑ์ 70.00 60.00  

อัตราส่วนตรีโกณมิติ 2 0o 30o 45o 60o 90o sin cos  

ตารางที่ 2 ผลการทดสอบหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ ตารางที่ 2 ผลการทดสอบหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ คนที่ ครั้งที่ 3 ใช้เทคนิคการนับนิ้วมือ (หลังเรียน) ครั้งที่ 4 หลังใช้เทคนิคการนับนิ้วมือผ่านไป 4 สัปดาห์ (ไม่แจ้งล่วงหน้า) 1 30 2 24 25 3 4 5 6 7 26 8 27 9 10 ค่าเฉลี่ย 28.10 คะแนน 28.30 คะแนน จำนวนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม 10 คน ร้อยละของผู้ที่ผ่านเกณฑ์ 100  

สรุปผลการวิจัย 1. การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือเป็นวิธีการที่ช่วยให้นักศึกษาจดจำอัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่ายขึ้น และคงทน 2. คะแนนเฉลี่ยและจำนวนนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็มหลังการจัดการเรียนรู้แบบปกติผ่านไป 1 สัปดาห์ ลดลง และหลังจากเรียนรู้วิธีการใช้เทคนิคการนับนิ้วมือระบุอัตราส่วนตรีโกณมิติ คะแนนเฉลี่ย และจำนวนนักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สรุปว่า การใช้เทคนิคการนับนิ้วมือช่วยให้นักศึกษาจดจำ อัตราส่วนตรีโกณมิติได้ง่ายขึ้น และคงทน ส่งผลให้นักศึกษาทุกคน ผ่านเกณฑ์การทดสอบเมื่อเปรียบเทียบกับการสอนแบบปกติ  

สวัสดีครับ