การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ เครือข่ายจังหวัดสงขลา นพ.ภควัต จุลทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ข้อมูลการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยบริการในพื้นที่ เขต ๖ ระยอง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ตามคำสั่งของแพทย์ ในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประเด็นการตรวจราชการ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
E-Sarabun.
ข้อมูลวันที่ 1 ม. ค เม. ย ผู้ป่วย 28,607 ราย - อัตราป่วย ต่อ ปชก. แสนคน - เสียชีวิต 31 ราย - อัตราตาย 0.05 ต่อ ปชก. แสนคน Influenza.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
การใช้โปรแกรมส่งต่อ ThaiRefer
Highlight in ThaiRefer version 1.6.
การเก็บระยะเวลาเดินทางระหว่างโรงพยาบาล
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ทำอย่างไรให้ยั่งยืน Referral System : นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี
Commission Commission on Higher Education Quality Assessment online system CHEQA Updated July 25, 2013
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ เมษายน 2557 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer Pitfall ที่พบบ่อยในการ ส่งต่อ.
SEPSIS.
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer Stroke Sepsis Mass Casualty นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี วว.เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 28-29 เมษายน 2557

การส่งต่อผู้ป่วย Stroke fast track โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer

ขั้นตอนการดูแลรักษา Stroke CT, lab ถึงรพศ. (door) result ล้อหมุน rt-PA รพช. onset + D-N time < 60 นาที Golden period 3-4.5 ชั่วโมง

การ activate stroke fast track ก่อนการส่งต่อ ข้อดี ผู้ป่วยได้รับการดูแลรวดเร็ว ขึ้น ลดระยะเวลารอคอย Door-to-needle time เร็ว ขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนจากการ ให้ยาละลายลิ่มเลือดช้า ข้อด้อย Activate แม่นยำเกิน (spec สูงเกิน)  ผู้ป่วยอาจ เสียโอกาสได้รับยาละลายลิ่มเลือด Activate พร่ำเพรื่อ (sensitivity สูงเกิน)  เพิ่ม ภาระงาน , ถูกต่อว่าจากรพ. ปลายทาง

การ activate stroke fast track ก่อนการส่งต่อ รพศ.ลำปาง ใช้เวลาใน การเตรียมผู้ป่วย, ทำ CT, รอผล CT, รอผล เลือด, ฉีดยา rt-PA รวมประมาณ 1 ชม. Golden period = 4.5 ชม. หักลบออก 1 ชม. เหลือ 4.5-1 = 3.5 ชม. ก่อนมารพศ.ลำปาง

ระยะเวลาเดินทางระหว่างโรงพยาบาล (75th percentile) ทำการเก็บสุ่มตัวอย่าง โรงพยาบาลละ 15 ตัวอย่าง คำนวณระยะเวลาเดินทาง ค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75th ไกลสุด : รพ.วังเหนือ 88 นาที ใกล้สุด : รพ.เกาะคา 21 นาที โรงพยาบาล ระยะทาง เวลาเดินทาง (75th percentile) วังเหนือ 116 กม. 88 นาที แม่พริก 118 กม. 77 นาที เถิน 88 กม. 65 นาที งาว 85 กม. เมืองปาน 65 กม. 60 นาที แจ้ห่ม 64 กม. 50 นาที สบปราบ 50 กม. 45 นาที เสริมงาม 36 กม. 36 นาที ห้างฉัตร 19 กม. 24 นาที แม่ทะ 25 นาที แม่เมาะ 17 กม. เกาะคา 16 กม. 21 นาที

+ รพช. ขั้นตอนการดูแลรักษา CT, lab ล้อหยุดถึงรพศ. result onset ล้อหมุน rt-PA รพช. onset to รพช. บริหารจก.ล้อหมุน Duration (D) 60 นาที Onset to ล้อหมุน + Golden period 4.5 ชม.(G1) , 3 ชม.(G2)

การส่งต่อผู้ป่วย Stroke fast track โดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer ในระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง

ข้อมูลพื้นฐานและอายุ จะขึ้นโดยอัตโนมัติ ใส่ HN รพช. กรอก onset Check ข้อห้าม กดปุ่ม Decision making

ตอบ Yes เพื่อ “activate stroke fast track” = √ ทันเวลา ตอบ Yes เพื่อ “activate stroke fast track” ท่านสามารถบริหารจัดการให้ล้อหมุนภายใน 22:39 หรือไม่ วันเวลาที่เกิดอาการขึ้นอัตโนมัติ กดปุ่ม Decision making Management ที่กำหนดตามแนวทาง ขึ้นอัตโนมัติ พิมพ์ใบนำส่ง กดบันทึกเพื่อส่งข้อมูล Diagnosis ขึ้นอัตโนมัติ ขณะนี้เวลา 22:33

ข้อมูลทั้งหมดขึ้นโดยอัตโนมัติ ใบนำส่ง ข้อมูลทั้งหมดขึ้นโดยอัตโนมัติ

ชื่อผู้ป่วยขึ้นที่ LCD monitor พร้อมคำนวณเวลาถึงโดยอัตโนมัติ

พิจารณายกเลิก stroke fast track กดปุ่ม Decision making กรณีไม่ทันเวลา = X ไม่ทัน ตอบ “No” เพื่อยกเลิก ท่านสามารถบริหารจัดการให้ล้อหมุนภายใน 22:09 หรือไม่ Onset 19:00 พิจารณายกเลิก stroke fast track กดปุ่ม Decision making ขณะนี้เวลา 23:03

Tab ส่งต่อเฉพาะโรค ถูกลบโดยอัตโนมัติ Tab ส่งต่อทั่วไป ตั้งค่าแบบ stroke ทั่วไป โดยอัตโนมัติ

การดูแลผู้ป่วย Sepsis โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer

อัตราการเสียชีวิต (ร้อยละ) ของผู้ป่วย Sepsis จังหวัดลำปาง เฉลี่ยต่อปี 37.45% ร้อยละ

tube เลือดที่สำคัญใน Sepsis DTX stat CBC BUN/Cr, Electrolyte H/C x 2 spp. ควร take H/C ก่อน start antibiotic ทุกราย ยกเว้นถ้าหากทำให้เกิดความ ล่าช้าในการ start antibiotic เกิน 45 นาที

ปริมาณเลือดที่ใส่ในขวด Hemoculture อย่างน้อย 10 ml ในแต่ละขวด Mermel LA, Maki DG: Detection of bacteremia in adults: Consequences of culturing an inadequate volume of blood. Ann Intern Med 1993; 119:270–272

ระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง สรุป tube เลือดในโรคสำคัญ ระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง

การส่งต่อผู้ป่วยโดยใช้โปรแกรม ThaiRefer v.1.5 upload 16 กรกฎาคม 2556

กดส่งต่อเฉพาะโรค “Sepsis”

ข้อมูลเฉพาะโรค “Sepsis” ใส่ HN รพช. ข้อมูลเฉพาะโรค “Sepsis”

ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยขึ้นอัตโนมัติ

กรอก V/S, CC/PI, Clinical syndrome Diagnosis, ICD-10 ขึ้นอัตโนมัติ

กรณี Sepsis + BP drop หรือ Blood lactate > 4 mmol/L จะต้อง load NSS อย่างน้อย 30 ml/kg √ √ √

อย่าลืมใส่เวลาล้อหมุน กรณี load NSS, Dx, start ABO, ทำ central จะขึ้นในช่อง management โดยอัตโนมัติ อย่าลืมใส่เวลาล้อหมุน

การบันทึกเวลาใน Sepsis Bundles at ICU/RCU/ ward

ICU/RCU/ward จะลงเวลา Sepsis Bundles ให้ เวลาในแต่ละช่วง คำนวณอัตโนมัติ

Analysis Sepsis Bundles เลือก Final Clinical syndrome ก่อน แล้วกดปุ่ม Analyze จะทำการวิเคราะห์ตามตัวชี้วัด 25 √

Take home messege BP drop  Load NSS อย่างน้อย 30 ml/kg ก่อนพิจารณา vasopressor Levophed (Norepinephrine) is prefered ต้อง H/C x 2 spp. ก่อน start Antibiotic H/C เลือดใช้อย่างน้อย 10 ml ต่อขวด แนะนำเจาะเลือด peripheral x 2 site ต่างตำแหน่งกัน กรณี severe sepsis + septic shock  ต้องให้ antibiotic ภายใน 1 ชม. (หลังจาก Dx) อย่าลืมลงเวลาในแต่ละขั้นตอน

Mass Casualty

Create METHANE

บันทึกรายชื่อผู้บาดเจ็บ

กรณี Refer  พิมพ์ใบส่งตัวได้

ระบบ HN Syncronization

รายชื่อผู้บาดเจ็บในเหตุนั้นๆ

ดูผ่าน Smart phone ได้

แสดงรายชื่อให้ญาติทราบ