สภาพทั่วไป ที่ตั้ง  ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
กองทุนหลักประกัน สุขภาพ ตำบลภูหลวง ปี 2556
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2,099 สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2, ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็นพื้นที่ 1,365,
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
ไม่เดียวดายไม่เดียวดาย. ไม่เดียวดายในที่นี้ หมายถึง หมายถึง มีคู่ หรือ ของสองอย่าง ไม่เดียวดายในที่นี้ หมายถึง หมายถึง มีคู่ หรือ ของสองอย่าง.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนะนำ เครือข่ายป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
จังหวัดชลบุรี.
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ยินดีต้อนรับ สู่ กศน.ตำบลส้มผ่อ.
สภาพทั่วไป จังหวัดพิจิตร อ.ชุมแสง อ.ท่าตะโก อ.ไพศาลี
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ประวัติความเป็นมา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 เมื่อประมาณ 195 ปีมาแล้ว ชาวบ้าน ได้อพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี พ.ศ มาตั้ง บ้านเรือนอยู่ที่บ้านหนองปลิงใหญ่
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
เทศบาลตำบลวังทรายพูน อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
บรรยายสรุปจังหวัดขอนแก่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาพทั่วไป ที่ตั้ง  ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ 38 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.ผาสุก ต.เชียงเเหว อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ตูมใต้ ต.ปะโค อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.ตูมใต้ ต.กุมภวาปี อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ.หนองแสง จ.อุดรธานี พื้นที่  เทศบาลตำบลกงพานพันดอน มีพื้นที่ทั้งหมด 51.230 ตารางกิโลเมตรหรือ 32,018.75 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ  สภาพพื้นที่ทั่วไปของตำบลพันดอนเป็นที่ราบลุ่มซึ่งเป็น ส่วนมากอยู่ทางด้านตะวันออก เหมาะแก่การทำนามีลำห้วยสำคัญไหลผ่าน 2 สาย คือ ล้ำห้วยน้ำฆ้อง และลำห้วยกงพาน ทางด้านตะวันตกของตำบลเป็นที่ราบสูง

จำนวนหมู่บ้าน ตำบลพันดอนมี 20 หมู่บ้านแยกได้ดังนี้ จำนวนหมู่บ้าน ตำบลพันดอนมี 20 หมู่บ้านแยกได้ดังนี้  หมู่บ้านที่อยู่ในเขต ทต. มีจำนวน 14 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 11 บ้านดงแคน หมู่ที่ 2 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 12 บ้านดอนแคน หมู่ที่ 3 บ้านหนองผึ้ง , หมู่ที่ 19 บ้านผือ หมู่ที่ 6 บ้านผือ , หมู่ที่ 13 บ้านกงพาน หมู่ที่ 7 บ้านพันดอน , หมู่ที่ 17 บ้านใหม่คำเจริญ หมู่ที่ 8 บ้านกงพาน , หมู่ที่ 18 บ้านหนองอุดม หมู่ที่ 10 บ้านคำเจริญ , หมู่ที่ 20 บ้านพันดอน  หมู่บ้านที่เป็นพื้นที่คาบเกี่ยวกับเขต ทต. ข้างเคียง จำนวน 4 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านวาปี , หมู่ที่ 14 บ้านหนองศรีเจริญ หมู่ที่ 15 บ้านน้ำฆ้อง หมู่บ้านที่มีพื้นที่นอกเขต ทต. จำนวน 2 หมู่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านนาหนองทุ่ม หมู่ที่ 16 บ้านน้ำฆ้อง - จำนวนครัวเรือน (เฉพาะในเขต ทต.) จำนวน 2,824 ครัวเรือน - จำนวนประชากร (เฉพาะในเขต ทต.) จำนวน 11,652 คน แบ่งออก ชาย จำนวน 5,761 คน หญิง จำนวน 5,909 คน

สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ ประชากรในเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ในทางเกษตรกรรม เช่น ทำนา เป็นหลัก รองลงมาได้แก่ พืชไร่ เช่น ปลูก อ้อย มันสำปะหลัง เป็นต้น นอกจากนี้มีการปลูกไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง มะพร้าว สวนป่ายูคาลิปตัส พืชผักสวนครัว และอื่น ๆ การเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่เลี้ยงปริมาณไม่มากนัก ส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงใช้ สำหรับใช้งาน บริโภคเองและ จำหน่ายบางส่วน เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด และไก่ เป็นต้น หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอน ประกอบด้วย ธนาคาร - แห่ง โรงแรม / รีสอร์ 1 แห่ง ปั๊มน้ำมัน/ก๊าซ (ขนาดใหญ่) - แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก - แห่ง โรงสี 20 แห่ง

สภาพทางสังคม - การศึกษา - การสาธารณสุข (ในตำบลพันดอน) - การศึกษา - การสาธารณสุข (ในตำบลพันดอน) โรงเรียนมัธยมศึกษา 2 แห่ง โรงพยาบาลของรัฐ - แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา 7 แห่ง สถานีอนามัยประจำตำบล/ หมู่บ้าน 2 แห่ง โรงเรียนอาชีวศึกษา 1 แห่ง สถานพยาบาลเอกชน - แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน - แห่ง ห้องสมุดประชาชน - แห่ง อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ 100% ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง - สถาบันและองค์กรทางศาสนา - ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วัด/สำนักสงฆ์ 2 แห่ง สถานีตำรวจ - แห่ง อุโบสถ - แห่ง สถานีดับเพลิง - แห่ง มัสยิด - แห่ง

การบริการพื้นฐาน มากมีถนนลาดยาง 5 เส้น ประกอบด้วย - ถนนส่วนใหญ่ในเขต ทต. กงพานพันดอน ขณะนี้เป็นถนนดินและลูกรัง และถนนในหมู่บ้านเป็นถนนแคบๆ จำนวน มากมีถนนลาดยาง 5 เส้น ประกอบด้วย - เส้นที่ 1 ผ่านหมู่ที่ 1 , 2 , 7 , 12 - เส้นที่ 4 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 3 - เส้นที่ 2 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 8 , 13 - เส้นที่ 5 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 6 - เส้นที่ 3 ผ่านเข้าสู่หมู่ที่ 14 - การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ 12 แห่ง - โทรศัพท์บ้าน(พื้นฐาน) 365 เครื่อง - การไฟฟ้า หมู่บ้านในเขต ทต. กงพานพันดอน มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้านทุกครัวเรือน - แหล่งน้ำธรรมชาติ ลำน้ำ / ลำห้วย 2 สาย บึง หนอง และอื่น ๆ 22 แห่ง - แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นมาใหม่ - ฝาย 7 แห่ง - บ่อโยก 16 แห่ง - บ่อน้ำตื้น 122 แห่ง - ถังเก็บน้ำฝน 54 แห่ง

ข้อมูลอื่น ๆ ทรัพยากรธรรมชาติ - เทศบาลตำบลกงพานพันดอน มีพื้นที่อยู่ในเขตป่าสงวนของตำบลพันดอน - ปะโค มีพื้นที่ 32,018.75 ไร่ มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น 300 คน - อปพร. 2 รุ่น 104 คน ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ ประกอบด้วย - กลุ่มออมทรัพย์ 14 กลุ่ม มีเงิน 3,053,237 บาท มีสมาชิก 1,962 คน - กลุ่มเงินทุน 1 ล้านบาท 15 กลุ่ม มีเงิน 15,000,000 บาท - โรงสีชุมชน 1 โรง มีเงินทุน 10,000 บาท จุดเด่นของพื้นที่ พื้นที่รับผิดชอบเขตเทศบาลตำบลกงพานพันดอนมีสภาพทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นที่ราบมีลำน้ำไหลผ่าน 2 สาย เหมาะแก่การทำนาซึ่งเป็นอาชีพส่วนใหญ่ และอาชีพรอง คือ การทำไร่อ้อย มันสำปะหลัง ทางด้านทิศตะวันตกของตำบล ซึ่งเป็นที่ราบสูง หมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตชุมชนเมือง การคมนาคมสะดวก เป็นตำบลที่เป็นตำบลหน้าด่านเข้าสู่จังหวัดอุดรธานี และอำเภอกุมภวาปี การคมนาคมสะดวก เหมาะสำหรับการติดต่อค้าขาย เลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารหรือผลิตส่งร้านค้า มีการ อนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่าง สม่ำเสมอ ราษฎร ให้ความร่วมมือกิจกรรมชุมชนดีพอสมควร