ตำรวจร่วมมวลชน ลดอาชญากรรม(ตมอ.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
บทบาท หน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวกข้องกับการสัมมนา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ความเข้มแข็งให้ : ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
หน่วยที่ 5 ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล วิจัย และ พัฒนาการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต กลุ่มที่ 5.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 ภ.จว.นครศรีธรรมราช (Call Center)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หัวหน้างานบริหารทั่วไป. ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางานภายใต้ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง - ทีมในการปฏิบัติงานต้องเป็นทีมเวอร์ค (team work) - บุคลากรต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการ.
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำรวจร่วมมวลชน ลดอาชญากรรม(ตมอ.) พลตำรวจตรี โกสินทร์ หินเธาว์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ชำนาญสุข

เป้าหมาย:การนำแบบจำลอง ตมอ. ที่เคยผ่านการศึกษาวิจัย(งบฯสกว เป้าหมาย:การนำแบบจำลอง ตมอ.ที่เคยผ่านการศึกษาวิจัย(งบฯสกว.10ล้านบาท)มาปฏิบัติจริงที่ ฉะเชิงเทรา พื้นที่วิจัย ปีพ.ศ.2554 พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ นครสวรรค์ นครปฐม นครศรีธรรมราช สงขลา และ บก.น.9

การคัดเลือกพื้นที่ มวลชนและตำรวจท้องที่พร้อมที่จะทำงานร่วมกัน ด้านกำลังคน ความเต็มใจสมัครใจ การมีอยู่ของปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นใน พื้นที่

3หลักการสำคัญของ ตมอ. การแสวงหา “คณะกรรมการ ตมอ.” โดยมีเลขานุการ(ตำรวจ)ที่เข้มแข็ง การจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ.” การดำเนินการสร้างการมีส่วนในการ ลดอาชญากรรมตามหลักการ ตมอ. 7 ขั้นตอน

แนวคิดและหลักการ ตมอ. - คณะกรรมการ ตมอ. การจัดการความรู้ -coreteam โครงสร้างบนฐานชุมชน การขับเคลื่อนด้วยกระบวนการ - ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ. ทางสังคม - คณะกรรมการ ตมอ. - ชุดปฏิบัติการ ตมอ. การจัดการความรู้ -coreteam -เทคโนโลยีการสื่อสารความรู้ การปรับเปลี่ยนวิธีคิดของตำรวจและมวลชน -ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3

ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3 1.ปรับพฤติกรรมการทำงานจากเชิงรับเป็นเชิงรุก 2.ปรับความคิดที่จะยอมรับความช่วยเหลือสนับสนุนจากประชาชนในการแก้ไข ปัญหาอาชญากรรมในด้านต่างๆ 3.ปรับเพิ่มความตั้งใจในการทำงานให้สูงขึ้นมากพอที่จะแสดงให้ผู้อื่นเห็นได้อย่าง ชัดเจน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้มวลชน 4.ปรับจิตใจให้อ่อนน้อมแต่แข็งแกร่งเพียงพอที่จะทำงานร่วมกับมวลชนจำนวนมาก ที่มีความหลากหลายทางความคิด และความต้องการ 5.ปรับวิธีคิดและการทำงานให้เป็นระบบอย่างจริงจัง โดยมีการใช้ระบบข้อมูลที่ ถูกต้อง ครบถ้วน และรอบด้าน มีการวางแผนงานที่แน่ชัด มีการปฏิบัติตาม แผนที่มีประสิทธิภาพ มีการประเมินผลการปฏิบัติการและปรับปรุงการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง

ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3 1.ปรับเปลี่ยนความเชื่อที่ว่า หน้าที่ในการลดอาชญากรรมเป็น งานในความรับผิดชอบของตำรวจแต่เพียงฝ่ายเดียวเปลี่ยนเป็นมี วิธีคิดว่าหน้าที่และความรับผิดชอบในการลดอาชญากรรมเป็น ของตำรวจและมวลชนร่วมกัน 2.ปรับจิตใจให้มีจิตอาสาที่พร้อมจะเข้ามามีส่วนร่วมกับตำรวจใน การลดอาชญากรรมในพื้นที่ของตนเองเท่าที่สามารถจะร่วมมือได้ ตามช่วงเวลาและโอกาส 3.ปรับความคิดที่จะยอมรับว่าไม่มีใครที่จะได้รับความเดือดร้อน จากปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่ได้อย่างแท้จริงนอกจากมวลชน ในพื้นที่นั้นเอง

การแสวงหา คณะกรรมการ ตมอ. บทบาทและหน้าที่ในคณะกรรมการ ตมอ. ฝ่ายกำลังพล ฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายวัสดุอุปกรณ์ ฝ่ายการข่าว ฝ่ายบริหารจัดการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ต้องไม่ยุ่งเกี่ยวกับการกระทำที่ผิดหมาย

เลขานุการ คณะกรรมการ ตมอ. ต้องเป็นตำรวจ ทำหน้าที่บริหารจัดการเรื่องต่างๆ ข้อมูลอาชญากรรม การวิเคราะห์ปัญหาและแนว ทางแก้ไขอาชญากรรม จัดการประชุม พร้อมจัดทำ เอกสารต่างๆ

ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ. ไม่อยู่ในพื้นที่ทำการของ สถานีตำรวจ เพื่อให้เป็น งานมวลชนอย่างแท้จริงไม่ ถูกครอบงำโดยตำรวจ

หลักการลดอาชญากรรม ตามแนวทาง ตมอ.7ขั้นตอน 1.ตรวจสอบสภาพปัญหาอาชญากรรม 2.วิเคราะห์สภาพปัญหาอาชญากรรมของพื้นที่(เหยื่อ, ผู้กระทำผิด,สภาพแวดล้อม,ผู้สนับสนุนการกระทำผิด.แผน ประทุษกรรม) 3.การเลือกประเภทอาชญากรรมที่สามารถใช้หลักการ ตมอ.ในการดำเนินการ 4.วางแผนการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ 5.ลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางแผนไว้ 6.ตรวจสอบ/ประเมินผลตามแผนท่ีได้วางไว้ 7.ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

แนวทางปฏิบัติการ 1. คัดเลือกชุมชุมเพื่อดำเนินโครงการ ตมอ. 2. ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการ ตมอ. ให้แก่ตำรวจทุกท้องที่ ทุกระดับ

แนวทางปฏิบัติการ 3. ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางดำเนินโครงการ ตมอ. ให้แก่มวลชนในชุมชนที่ร่วมโครงการ

แนวทางปฏิบัติการ 4. กำกับติดตามและดำเนินการวิจัยการดำเนินโครงการ เพื่อนำเสนอต่อ บช.ภ.2และ ตร.

พี่โก๋ 081-7829777 พี่โก๋ 0817829777 อ.ปู 086-7804141 e-mail:drpanatda@gmail.com